Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Rhizophora apiculata
Rhizophora apiculata
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Rhizophora apiculata
Blume
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Rhizophora candelaria DC.
- Rhizophora conjugata Arn.
ชื่อสามัญ::
-
Tall-stilt mangrove
ชื่อไทย::
-
โกงกางใบเล็ก
-
โกงเกงใบเล็ก
ชื่อท้องถิ่น::
-
โกงกาง พังกาใบเล็ก พังกาทราย
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Malpighiales
วงศ์::
Rhizophoraceae
สกุล:
Rhizophora
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
11 ก.ค. 2566
ที่มา :
กองอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ปรับปรุงล่าสุด :
27 มิ.ย. 2566
ที่มา :
กองอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ปรับปรุงล่าสุด :
27 มิ.ย. 2566
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:37 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:37 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูง ๒๕ - ๓๕ เมตร มีรากเสริมหรือรากค้ำยันลำต้น เปลือก แตกเป็นร่องตื้นๆ ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม สลับตั้งฉาก รูปรี กว้าง ๔ - ๘ ซม. ยาว ๗ - ๑๘ ซม. ปลายใบแหลมหรือเป็นติ่งแหลม โคนใบรูปลิ่ม เส้นกลางใบด้านล่างสีออกแดงหรือชมพูอมแดง แผ่นใบหนา ก้านใบยาว ๑.๕ - ๓.๕ ซม. มักมีสีออกแดง หูใบแคบ ปลายแหลมยาว เห็นชัดที่ปลายกิ่ง สีชมพู ร่วงง่าย ช่อดอกสั้น ออกตามง่ามใบที่ใบร่วงแล้ว ดอกตูมรูปไข่ กลีบเลี้ยง ๔ กลีบ รูปไข่ กว้าง ๐.๖ - ๐.๘ ซม. ยาว ๐.๗ - ๑.๒ ซม.กลีบหนา ปลายแหลม กลีบดอก ๔ กลีบ ร่วงง่าย รูปใบหอก กว้าง ๐.๑ - ๐.๒ ซม. ยาว ๐.๗ - ๑.๒ ซม. สีเหลืองอมเขียวหรือเหลืองอ่อน ขอบกลีบไม่มีขน เกสรเพศผู้ ๑๒ อัน ผลคล้ายรูปไข่กลับ ยาว ๒ - ๓ ซม. สีน้ำตาลคล้ำ ผิวค่อนข้างขรุขระ เมล็ดงอกได้ในขณะที่ผลยังติดอยู่กับต้น ลำต้นใต้ใบเลี้ยงรูปทรงกระบอก เรียงโค้งเล็กน้อย ยาว ๓๐ - ๔๐ ซม. เส้นผ่านศูนย์กลาง ๑ - ๑.๒ ซม.
-
ไม้ต้นขนาดกลางถึงใหญ่ สูง 25-30 ม. เรือนยอดเป็นรูปกรวยคว่ำและแผ่กว้าง มักแตกกิ่งทำมุมเอียงขึ้นกับลำต้น มีรากค้ำยัน สูง 3-8 ม. รากค้ำยันแตกแขนงระเกะระกะไม่เป็นระเบียบ โคนรากทำมุมเกือบตั้งฉากกับลำต้นแล้วหักศอกลงดินเกือบเป็นมุมฉาก มักมีรากอากาศแตกตามกิ่ง เปลือกสีเทาคล้ำหรือสีเทาอมชมพู เรียบแล้วแตกเป็นร่องตามยาวตื้น ๆ
ใบ เดี่ยว เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก ออกเป็นกระจุกที่ปลายกิ่ง แผ่นใบรูปรี ถึงรูปขอบขนานแกมรูปรี ขนาด 4-8x8-18 ซม. โคนใบเป็นรูปลิ่มถึงมน ขอบใบเรียบ ปลายใบแหลมหรือเป็นติ่งแหลมอ่อนสีดำ เส้นใบมองไม่ชัดเจน เส้นกลางใบแบนราบ ด้านหลังเป็นสีแดงเรื่อและเปลี่ยนเป็นสีเหลืองอ่อน เส้นแขนงใบ 7-10 คู่ มองเห็นลาง ๆ ผิวใบเกลี้ยง ด้านบนเป็นมันสีเขียวเข้ม ด้านล่างสีซีดกว่าและมีจุดสีน้ำตาลเล็ก ๆ ทั่วผิวใบ เนื้อใบอวบน้ำและเหนียวคล้ายแผ่นหนัง ก้านใบยาว 2-3 ซม. สีชมพูถึงแดงเรื่อ
ดอก แบบช่อกระจุกด้านเดียว ออกตามง่ามใบหรือเหนือรอยแผลใบใกล้ปลายยอด ก้านช่อดอกยาว 0.6-2 ซม. แต่ละช่อประกอบด้วยดอกย่อย 1 คู่ ไม่มีก้านดอก ดอกตูมรูปไข่ ยาว 1.2-1.6 ซม. ใบประดับที่ฐานดอกเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย ปลายหยักมนถี่ กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกันเป็นหลอดรูปถ้วยตื้น ปลายแยกเป็น 4 แฉก รูปไข่ สีเหลืองหรือเหลืองอมเขียว หนา แข็ง ปลายแหลมบานออก กลีบดอก 4 กลีบ รูปใบหอก เกลี้ยง แยกกัน และหลุดร่วงง่าย ออกดอกตลอดทั้งปี
ผล แบบผลมีเนื้อเมล็ดเดียว รูปทรงไข่กลับปลายคอด ยาว 2-3 ซม. ผิวหยาบ ค่อนข้างขรุขระ สีน้ำตาลคล้ำ ผลจะงอกตั้งแต่ยังติดอยู่บนต้น (Viviparous) ลำต้นใต้ใบเลี้ยง (ฝัก) คล้ายรูปทรงกระบอก ขนาด 1-1.5x20-40 ซม. มักโค้งงอทางด้านยอดฝักแล้วเหียดตรงและขยายใหญ่ที่ส่วนปลาย ออกผลตลอดทั้งปี
-
ไม้ต้น
-
ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูง ๒๕ - ๓๕ เมตร มีรากเสริมหรือรากค้ำยันลำต้น เปลือก แตกเป็นร่องตื้นๆ ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม สลับตั้งฉาก รูปรี กว้าง ๔ - ๘ ซม. ยาว ๗ - ๑๘ ซม. ปลายใบแหลมหรือเป็นติ่งแหลม โคนใบรูปลิ่ม เส้นกลางใบด้านล่างสีออกแดงหรือชมพูอมแดง แผ่นใบหนา ก้านใบยาว ๑.๕ - ๓.๕ ซม. มักมีสีออกแดง หูใบแคบ ปลายแหลมยาว เห็นชัดที่ปลายกิ่ง สีชมพู ร่วงง่าย ช่อดอกสั้น ออกตามง่ามใบที่ใบร่วงแล้ว ดอกตูมรูปไข่ กลีบเลี้ยง ๔ กลีบ รูปไข่ กว้าง ๐.๖ - ๐.๘ ซม. ยาว ๐.๗ - ๑.๒ ซม.กลีบหนา ปลายแหลม กลีบดอก ๔ กลีบ ร่วงง่าย รูปใบหอก กว้าง ๐.๑ - ๐.๒ ซม. ยาว ๐.๗ - ๑.๒ ซม. สีเหลืองอมเขียวหรือเหลืองอ่อน ขอบกลีบไม่มีขน เกสรเพศผู้ ๑๒ อัน ผลคล้ายรูปไข่กลับ ยาว ๒ - ๓ ซม. สีน้ำตาลคล้ำ ผิวค่อนข้างขรุขระ เมล็ดงอกได้ในขณะที่ผลยังติดอยู่กับต้น ลำต้นใต้ใบเลี้ยงรูปทรงกระบอก เรียงโค้งเล็กน้อย ยาว ๓๐ - ๔๐ ซม. เส้นผ่านศูนย์กลาง ๑ - ๑.๒ ซม.
การกระจายพันธุ์ :
-
พบตามฝั่งทะเลศรีลังกา อินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภูมิภาคมาเลเซีย จนถึงภาคเหนือของออสเตรเลีย
-
ประเทศอินเดีย ศรีลังกา เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก และตอนเหนือของออสเตรเลีย
-
พบตามฝั่งทะเลศรีลังกา อินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภูมิภาคมาเลเซีย จนถึงภาคเหนือของออสเตรเลีย
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุมน้ำปากแม่น้ำกระบี่
-
ป่าชายเลนคุระบุรี, อ่าวจาก คลองคุระบุรี ชายฝั่งคุระบุรี
-
อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะอ่างทอง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
พังงา
-
สุราษฎร์ธานี
-
กระบี่
-
สมุทรปราการ
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น (Tree)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA996495
996495
2
PRJNA909927
909927
3
PRJNA880605
880605
4
PRJNA846534
846534
5
PRJNA817364
817364
6
PRJDB9438
815978
7
PRJNA772592
772592
8
PRJNA760026
760026
9
PRJNA749438
749438
10
PRJNA735875
735875
11
PRJNA719266
719266
12
PRJNA713533
713533
13
PRJNA706926
706926
14
PRJNA704509
704509
15
PRJNA612127
612127
16
PRJNA477761
477761
17
PRJNA432798
432798
18
PRJEB8423
407617
19
PRJDB5683
382672
20
PRJNA382616
382616
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
งานวิจัย
The degradation rates of mangrove leaves of Rhizophora apiculata (BL.) and Avicennia marina (Forsk.) Vierh. at Phuket Island, Thailand
The role of sesarmid crabs in the mineralization of leaf litter of Rhizophora apiculata in a mangrove, Southern Thailand
กฏหมาย
The degradation rates of mangrove leaves of Rhizophora apiculata (BL.) and Avicennia marina (Forsk.) Vierh. at Phuket Island, Thailand
The role of sesarmid crabs in the mineralization of leaf litter of Rhizophora apiculata in a mangrove, Southern Thailand
ที่มาของข้อมูล
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)
พันธุ์ไม้ป่าชายเลน, กองอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2563
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 3 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศทะเลและชายฝั่ง, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Appendicula floribunda
ยางอินเดีย
Ficus elastica
นังด้งล้าง
Verbena officinalis
Bulbophyllum microtepalum
Bulbophyllum abbrevilabium
Oxalis acetosella
Previous
Next