Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Raphistemma pulchellum
Raphistemma pulchellum
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Raphistemma pulchellum
(Roxb.) Wall.
Status:
SYNONYM
ชื่อสามัญ::
-
Khao san dok yai
ชื่อไทย::
-
ข้าวสาร
-
ข้าวสารดอกใหญ่
ชื่อท้องถิ่น::
-
ข้าวสารดอกใหญ่, มะโอเครือ, เครือเขาหนัง
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Gentianales
วงศ์::
Apocynaceae
สกุล:
Cynanchum
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:34 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:34 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้เลื้อยมียางขาว ใบเป็นใบเดี่ยวเรียงตรงข้าม รูปไข่หรือรูปหัวใจ โคนใบเว้า ปลายใบแหลมเป็นหาง ขอบใบเรียบ ขนาดกว้าง 4-15 ซม. ยาว6-20 ซม. บริเวณกลางใบด้านบนมีขนขึ้นเป็นกระจุก ก้านใบ ยาว4-12 ซม. ดอกสีขาวหรือครีมออกเป็นช่อซี่ร่มตามซอกใบ ช่อหนึ่งมีดอก4-10 ดอก ก้านช่อดอกยาว 6-10 ซม. กลีบเลี้ยงมี 5 กลีบรูปขอบขนานโคนเชื่อมติดกัน กลีบดอกเชื่อมกันเป็นรูประฆัง แยกเป็น 5 แฉก มีเส้าเกสรสีขาวตรงกลาง ดอกบานเต็มที่กว้างประมาณ 4 ซม. ผลเป็นฝักรูปโค้ง เมล็ดรูปไข่มีขนเป็นพู่ยาวได้ถึง 4 ซม.
-
ไม้เถ้าล้มลุก ลำต้นเล็ก เกลี้ยง มีน้ำยางสีขาว ใบออกเป็นคู่ตรงข้ามกัน รูปไข่หรือรูปหัวใจ ปลายใบแหลมเป็นหางยาว ขอบใบเรียบ โคนใบเว้า เนื้อใบบาง ด้านบนที่โคนเส้นกลางใบมีขนขึ้นเป็นกระจุก ก้านใบเรียวเล็ก ดอกสีขาวมีขนาดใหญ่ ออกเป็นช่อตามง่ามใบ ช่อหนึ่ง ๆ มี 2-10 ดอก ก้านดอกเล็กมาก กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปไข่หรือรูปขอบขนาน ปลายกลม ขอบกลีบบาง โคนเชื่อมติดกัน กลีบดอก 5 กลีบสีขาว โคนกลีบเชื่อมติดกันเป็นรูประฆัง ปลายกลีบหนา สั้นกว่าท่อดอกมาก เส้าเกสร 5 กลีบ ติดกับชั้นของเกสรผู้ซึ่งเชื่อมติดกัน ผลเป็นฝัก โค้งเล็กน้อย
-
ไม้เลื้อยมียางขาว ใบเป็นใบเดี่ยวเรียงตรงข้าม รูปไข่หรือรูปหัวใจ โคนใบเว้า ปลายใบแหลมเป็นหาง ขอบใบเรียบ ขนาดกว้าง 4-15 ซม. ยาว6-20 ซม. บริเวณกลางใบด้านบนมีขนขึ้นเป็นกระจุก ก้านใบ ยาว4-12 ซม. ดอกสีขาวหรือครีมออกเป็นช่อซี่ร่มตามซอกใบ ช่อหนึ่งมีดอก4-10 ดอก ก้านช่อดอกยาว 6-10 ซม. กลีบเลี้ยงมี 5 กลีบรูปขอบขนานโคนเชื่อมติดกัน กลีบดอกเชื่อมกันเป็นรูประฆัง แยกเป็น 5 แฉก มีเส้าเกสรสีขาวตรงกลาง ดอกบานเต็มที่กว้างประมาณ 4 ซม. ผลเป็นฝักรูปโค้ง เมล็ดรูปไข่มีขนเป็นพู่ยาวได้ถึง 4 ซม.
การกระจายพันธุ์ :
-
พบขึ้นในอินเดีย เนปาล เมียนมาร์ จีนตอนใต้และมาเลเซีย ประเทศไทยพบตามป่าดิบเขาบริเวณชายป่า หรือพื้นทีเปิดที่ระดับความสูง 400-1,300 เมตร
-
มักเกิดขึ้นตามป่าดิบเขาบริเวณชายป่าและตามป่าเบญจพรรณแล้งทั่วไป หรือในพื้นที่เปิดที่ระดับความสูงประมาณ 400-1,300 เมตร ส่วนในต่างประเทศพบขึ้นในอินเดีย เนปาล พม่า จีนตอนใต้ และมาเลเซีย
-
พบขึ้นในอินเดีย เนปาล เมียนมาร์ จีนตอนใต้และมาเลเซีย ประเทศไทยพบตามป่าดิบเขาบริเวณชายป่า หรือพื้นทีเปิดที่ระดับความสูง 400-1,300 เมตร
ที่มาของข้อมูล
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Polycarpon prostratum
Pertusaria archerii
Scindapsus hederaceus
Enhalus acoroides
หูหมีสุมาตรา
Thottea sumatrana
Syzygium cerasiforme
Previous
Next