Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Rafflesia kerrii
Rafflesia kerrii
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Rafflesia kerrii
Meijer
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย::
-
บัวผุด
ชื่อท้องถิ่น::
-
บัวตูม บัวสวรรค์
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Malpighiales
วงศ์::
Rafflesiaceae
สกุล:
Rafflesia
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:29 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:29 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
พืชเบียน อาศัยเกาะตามรากของพืชอื่น ใบ ลดรูปเป็นกาบ หุ้มโคนดอก ดอก สีน้ำตาลแดง ออกเดี่ยว ดอกตูมเป็นก้อน กลมใหญ่ เมื่อบานเต็มที่รูปอ่าง กว้าง 60-75 ซม. แยกเพศ ปลายแยก เป็น 5 กลีบ ผิวด้านในมีตุ่มเล็ก กระจายทั่วไป ขอบถ้วยดอก มีเนื้อเยื่อติดเป็นรูปวงแหวน ตรงกลางเปิดเป็นช่องกลม บริเวณ ก้นดอกนูนเป็นแท่น มีรยางค์ปลายแหลมยื่นยาวทั่วไป ดอกเพศผู้ มีเกสร 25-30 อัน อยู่รอบโคนฐานดอก
-
พืชเบียน อาศัยเกาะตามรากของพืชอื่น ใบ ลดรูปเป็นกาบ หุ้มโคนดอก ดอก สีน้ำตาลแดง ออกเดี่ยว ดอกตูมเป็นก้อน กลมใหญ่ เมื่อบานเต็มที่รูปอ่าง กว้าง 60-75 ซม. แยกเพศ ปลายแยก เป็น 5 กลีบ ผิวด้านในมีตุ่มเล็ก กระจายทั่วไป ขอบถ้วยดอก มีเนื้อเยื่อติดเป็นรูปวงแหวน ตรงกลางเปิดเป็นช่องกลม บริเวณ ก้นดอกนูนเป็นแท่น มีรยางค์ปลายแหลมยื่นยาวทั่วไป ดอกเพศผู้ มีเกสร 25-30 อัน อยู่รอบโคนฐานดอก
การกระจายพันธุ์ :
-
ภาคใต้ของประเทศไทย และมาเลเซีย เกาะอาศัยตามรากเครือเขาน้ำบริเวณป่าดิบชื้น ที่ระดับความสูง 500-1,000 เมตร ออกดอกช่วงเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ์ เป็นดอกไม้ที่ใหญ่ที่สุดของโลก รองจาก Rafflesia arnoldii ที่พบในอินโดนีเซีย มีขนาดกว้าง 75-90 ซม.
-
ภาคใต้ของประเทศไทย และมาเลเซีย เกาะอาศัยตามรากเครือเขาน้ำบริเวณป่าดิบชื้น ที่ระดับความสูง 500-1,000 เมตร ออกดอกช่วงเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ์ เป็นดอกไม้ที่ใหญ่ที่สุดของโลก รองจาก Rafflesia arnoldii ที่พบในอินโดนีเซีย มีขนาดกว้าง 75-90 ซม.
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ชุมพร
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
ที่มาของข้อมูล
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Callluella guttulata
Ascochilus siamensis
Dendrobium lindleyi
Secamone elliptica
ไคร้หางนาค
Phyllanthus taxodiifolius
Acanthophora muscoides
Previous
Next