Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Radermachera boniana
Radermachera boniana
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Radermachera boniana
Dop
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย::
-
สำเภาทอง
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Lamiales
วงศ์::
Bignoniaceae
สกุล:
Radermachera
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:39 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:39 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 6-8 เมตร ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น ใบย่อย 2-3 คู่ กว้าง 2.5-3.5 ซม. ยาว 5-6 ซม. ท้องใบมีต่อมประปราย ช่อดอกออกตามลำต้นหรือกิ่ง ยาว 12-15 ซม. กลีบเลี้ยงเชื่อมกันเป็นรูปถ้วย ยาวประมาณ 0.5 ซม. สีม่วง มีต่อมประปราย กลีบดอกสีเหลืองเชื่อมกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 5 แฉก ปลายกลีบมน เกสรเพศผู้ 4 อัน เกลี้ยง ยอดเกสรเพศเมียแยกเป็น 2 แฉก ผลแห้งแก่แล้วแตกกลางพู รูปแถบ เรียวยาว เมล็ดแบน มีปีกใสด้านข้าง
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 6-8 เมตร ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น ใบย่อย 2-3 คู่ กว้าง 2.5-3.5 ซม. ยาว 5-6 ซม. ท้องใบมีต่อมประปราย ช่อดอกออกตามลำต้นหรือกิ่ง ยาว 12-15 ซม. กลีบเลี้ยงเชื่อมกันเป็นรูปถ้วย ยาวประมาณ 0.5 ซม. สีม่วง มีต่อมประปราย กลีบดอกสีเหลืองเชื่อมกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 5 แฉก ปลายกลีบมน เกสรเพศผู้ 4 อัน เกลี้ยง ยอดเกสรเพศเมียแยกเป็น 2 แฉก ผลแห้งแก่แล้วแตกกลางพู รูปแถบ เรียวยาว เมล็ดแบน มีปีกใสด้านข้าง
การกระจายพันธุ์ :
-
พบบริเวณซอกหินตามหน้าผาที่เป็นหินปูน ที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล 800-1,200 เมตร ออกดอกและติดผลเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน
-
Vietnam, N Thailand
-
พบบริเวณซอกหินตามหน้าผาที่เป็นหินปูน ที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล 800-1,200 เมตร ออกดอกและติดผลเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
Semiendemic
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Lower montan forest, limestone, 1300 m.
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ Endangered: EN (ONEP, 2549)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ Endangered: EN (ONEP, 2549)
ที่มาของข้อมูล
ONEP Biodiversity Series Vol. 17 : Thailand Red Data : Plants (2006)
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Luisia curtisii
Haymondia wallichii
Scleria purpurascens
เฟิร์นหลวงดอยตุง
Woodwardia cochinchinensis
Ficus bracteata
Osbeckia aspericaulis
Previous
Next