Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Quercus kerri
Quercus kerri
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Lithocarpus polystachyus
Rehder
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Cyclobalanopsis kerrii (Craib) Hu
- Quercus dispar Chun & Tsiang
ชื่อสามัญ::
-
-
ชื่อไทย::
-
ก่อแพะ
ชื่อท้องถิ่น::
-
ก่อแพะ
-
ก่อแพะ ก่อตาหมู ก่อตาควาย ก่อดำ (เหนือ) เต็งตลับ (ราชบุรี) ก่อขี้หมู (ตะวันออกเฉียงเหนือ) ก่อควยลอก (เชียงราย) ซี้จะคั่ง เซเด๊าะ เต็งตลับ
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Fagales
วงศ์::
Fagaceae
สกุล:
Quercus
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:15 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:15 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นผลัดใบขนาดกลาง ความสูง 10-18 เมตร ใบ: ใบเดี่ยว เรียงตัวแบบเวียนสลับ ใบรูปขอบขนานแกมรูปรี ใบกว้าง 2.5-5 เซนติเมตร ยาว 10-17 เซนติเมตร ฐานใบแหลมหรือทู่ ปลายใบแหลม ขอบใบจักฟันเลื่อย ใบอ่อนทั้งหลังใบและท้องใบ มีเยื่อบางๆสีน้ำตาลปกคลุม ใบอ่อนที่แตกใหม่จะมีสีน้ำตาลอมม่วง ใบแก่เกลี้ยง ผลัดใบเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคม ดอก: เป็นช่อดอกแยกเพศอยู่ต่างต้น ช่อดอกเพศผู้เป็นแบบหางกระรอก ช่อดอกห้อยลง แตกตามง่ามใบหรือปลายกิ่ง สีเหลือง ดอกเพศเมียเป็นช่อดอกแบบเชิงลด ไม่มีก้าน ดอกย่อยช่อละ 3-4 ดอก สีน้ำตาลอมเขียว ตั้งตรง ดอกเพศเมียประกอบด้วยวงกลีบรวม รูปตลับแบนๆ ไม่มีกลีบดอก ออกดอกระหว่างเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคม ผล: ผลแบบเปลือกแข็งเมล็ดเดียว แบบ nut (เมื่อติดกับฐานรองรูปถ้วยเรียกว่า acorn) ผลกลมแบนเป็นรูปตลับ เปลือกผลเจริญมาจากส่วนของกาบรองดอก จะหุ้มผลครึ่งหนึ่งของผลเป็นรูปถ้วยแบนๆ เรียกว่า cupule มีขนสีน้ำตาลปกคลุม 1 cupule มี 1 ผล แต่ละข่อผลจะมี 3-4 ผล ผลแก่ช่วงเดือนตุลาคมถึงธันวาคม เปลือก: เปลือกนอกสีเทาเงิน แตกเป็นรอยไถหรือแตกแบบสี่เหลี่ยม เปลือกแข็งมาก เปลือกในสีน้ำตาลแดงหรือสีเลือดหมู หนา
-
บรรยายลักษณะต้น:ไม้ต้นผลัดใบขนาดกลาง ความสูง 10-18 เมตรใบ:ใบเดี่ยว เรียงตัวแบบเวียนสลับ ใบรูปขอบขนานแกมรูปรี ใบกว้าง 2.5-5 เซนติเมตร ยาว 10-17 เซนติเมตร ฐานใบแหลมหรือทู่ ปลายใบแหลม ขอบใบจักฟันเลื่อย ใบอ่อนทั้งหลังใบและท้องใบ มีเยื่อบางๆสีน้ำตาลปกคลุม ใบอ่อนที่แตกใหม่จะมีสีน้ำตาลอมม่วง ใบแก่เกลี้ยง ผลัดใบเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคมดอก:เป็นช่อดอกแยกเพศอยู่ต่างต้น ช่อดอกเพศผู้เป็นแบบหางกระรอก ช่อดอกห้อยลง แตกตามง่ามใบหรือปลายกิ่ง สีเหลือง ดอกเพศเมียเป็นช่อดอกแบบเชิงลด ไม่มีก้าน ดอกย่อยช่อละ 3-4 ดอก สีน้ำตาลอมเขียว ตั้งตรง ดอกเพศเมียประกอบด้วยวงกลีบรวม รูปตลับแบนๆ ไม่มีกลีบดอก ออกดอกระหว่างเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคมผล:ผลแบบเปลือกแข็งเมล็ดเดียว แบบ nut (เมื่อติดกับฐานรองรูปถ้วยเรียกว่า acorn) ผลกลมแบนเป็นรูปตลับ เปลือกผลเจริญมาจากส่วนของกาบรองดอก จะหุ้มผลครึ่งหนึ่งของผลเป็นรูปถ้วยแบนๆ เรียกว่า cupule มีขนสีน้ำตาลปกคลุม 1 cupule มี 1 ผล แต่ละข่อผลจะมี 3-4 ผล ผลแก่ช่วงเดือนตุลาคมถึงธันวาคมเปลือก:เปลือกนอกสีเทาเงิน แตกเป็นรอยไถหรือแตกแบบสี่เหลี่ยม เปลือกแข็งมาก เปลือกในสีน้ำตาลแดงหรือสีเลือดหมู หนาอื่นๆ:
ไม้ต้นผลัดใบขนาดกลาง ความสูง 10-18 เมตร
ใบเดี่ยว เรียงตัวแบบเวียนสลับ ใบรูปขอบขนานแกมรูปรี ใบกว้าง 2.5-5 เซนติเมตร ยาว 10-17 เซนติเมตร ฐานใบแหลมหรือทู่ ปลายใบแหลม ขอบใบจักฟันเลื่อย ใบอ่อนทั้งหลังใบและท้องใบ มีเยื่อบางๆสีน้ำตาลปกคลุม ใบอ่อนที่แตกใหม่จะมีสีน้ำตาลอมม่วง ใบแก่เกลี้ยง ผลัดใบเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคม
เป็นช่อดอกแยกเพศอยู่ต่างต้น ช่อดอกเพศผู้เป็นแบบหางกระรอก ช่อดอกห้อยลง แตกตามง่ามใบหรือปลายกิ่ง สีเหลือง ดอกเพศเมียเป็นช่อดอกแบบเชิงลด ไม่มีก้าน ดอกย่อยช่อละ 3-4 ดอก สีน้ำตาลอมเขียว ตั้งตรง ดอกเพศเมียประกอบด้วยวงกลีบรวม รูปตลับแบนๆ ไม่มีกลีบดอก ออกดอกระหว่างเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคม
ผลแบบเปลือกแข็งเมล็ดเดียว แบบ nut (เมื่อติดกับฐานรองรูปถ้วยเรียกว่า acorn) ผลกลมแบนเป็นรูปตลับ เปลือกผลเจริญมาจากส่วนของกาบรองดอก จะหุ้มผลครึ่งหนึ่งของผลเป็นรูปถ้วยแบนๆ เรียกว่า cupule มีขนสีน้ำตาลปกคลุม 1 cupule มี 1 ผล แต่ละข่อผลจะมี 3-4 ผล ผลแก่ช่วงเดือนตุลาคมถึงธันวาคม
เปลือกนอกสีเทาเงิน แตกเป็นรอยไถหรือแตกแบบสี่เหลี่ยม เปลือกแข็งมาก เปลือกในสีน้ำตาลแดงหรือสีเลือดหมู หนา
ระบบนิเวศ :
-
พบทั่วไปในป่าเต็งรัง ป่าดิบเขา
การกระจายพันธุ์ :
-
พบทั่วไปในป่าเต็งรัง ป่าดิบเขา
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขากระยาง ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงโพนทราย ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่จางฝั่งซ้าย ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่คำมี ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
ที่อยู่อาศัย,เครื่องจักสานและเครื่องใช้สอย
ที่มาของข้อมูล
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
สำนักงานความหลากหลายทางชีวภาพด้านป่าไม้
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Asplenium excisum
Millettia auriculata
Leea asiatica
Cyperus digitatus
Sphaerostephanos unitus
Panisea tricallosa
Previous
Next