Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Pteris biaurita
Pteris biaurita
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Pteris biaurita
L.
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย::
-
กูดหางค่าง
ชื่อท้องถิ่น::
-
กูดหางค่าง
-
กูดขนพญานาค
-
กูดหางค่าง, ผักกูดขนคางพญานาคราช
-
Ta pwa do (Karen-Chiang Mai)
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Polypodiopsida
อันดับ:
Polypodiales
วงศ์::
Pteridaceae
สกุล:
Pteris
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
11 ก.ค. 2566
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
11 ก.ค. 2566
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
11 ก.ค. 2566
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
11 ก.ค. 2566
วันที่อัพเดท :
19 มิ.ย. 2562 02:46 น.
วันที่สร้าง:
19 มิ.ย. 2562 02:46 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
Terrestrial fern.
-
เป็นเฟินที่มีเหง้าสั้นตั้งตรง ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ก้านใบยาวถึง 50 ซม. สีน้ำตาลเข้ม ใบยาวถึง 60 ซม. กว้าง 30 ซม. ใบย่อยเกิดตรงกันข้ามเป็นคู่ มีประมาณ 12 คู่ รูปยาวแคบปลายแหลม กลุ่มของอับสปอร์ออกตามความยาวของขอบใบย่อย
-
ก้านใบยาว 56 เซนติเมตร แกนราคิสยาว 42 เซนติเมตร พินนี 12 คู่ เรียงตรงข้าม เนื้อใบค่อนข้างหนาคล้ายหนัง พินนีด้านข้าง ยาว 10 –27 เซนติเมตร กว้าง 1.5 –6.5 เซนติเมตร รอยเว้าของแฉกพินนีกลม แฉกใหญ่สุดของพินนี ยาว 3.5 เซนติเมตร และกว้าง 0.5 เซนติเมตร เส้นใบอิสระหรือเป็นง่าม และมีช่องร่างแห 1 แถว ตลอดเส้นกลางใบของพินนี ซึ่งเกิดจากเส้นใบที่โคนแฉกเชื่อมต่อกัน ซอรัสรูปแถบเกิดที่ขอบใบและยาวเกือบตลอดขอบใบ ที่ฐานของพินนีล่างสุด มีพินนูล 2 อัน ยาว 16 เซนติเมตร กว้าง 3.5 เซนติเมตร
-
ใบประกอบแบบขนนกเกือบ 2 ชั้น พินนี 9-12 คู่ พินนีคู่สุดท้ายมีแขนงใบใหญ่พอๆกับพินนีที่อยู่ถัดขึ้นไป เส้นใบเป็นช่องร่างแห 1 แถวบริเวณเส้นกลางใบและมีเส้นใบอิสระเกิดไปที่รอยหยักของใบ ซอรัสยาวเกือบตลอดขอบของแฉกใบ
-
ใบย่อยมี 3-5 คู่ เส้นใบร่างแหเกิดเฉพาะที่แนวเส้นกลางใบ
-
เป็นเฟินที่มีเหง้าสั้นตั้งตรง ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ก้านใบยาวถึง 50 ซม. สีน้ำตาลเข้ม ใบยาวถึง 60 ซม. กว้าง 30 ซม. ใบย่อยเกิดตรงกันข้ามเป็นคู่ มีประมาณ 12 คู่ รูปยาวแคบปลายแหลม กลุ่มของอับสปอร์ออกตามความยาวของขอบใบย่อย
ระบบนิเวศ :
-
On mountain slopes in light shade or in lower montane forest, below 1,400 m, usually a lowland species.
การกระจายพันธุ์ :
-
Pantropical.
-
พบได้ทุกภาคของประเทศไทยตามชายป่าระดับต่ำกว่า 1,400 เมตรจากระดับน้ำทะเล ชอบขึ้นตามที่ลาดชันในที่ร่ม เป็นเฟินที่พบมากในสวนพฤกษศาสตร์ โดยเฉพาะบริเวณแปลงเฟิน และทางเดินขึ้นสำนักงาน
-
พบได้ทุกภาคของประเทศไทยตามชายป่าระดับต่ำกว่า 1,400 เมตรจากระดับน้ำทะเล ชอบขึ้นตามที่ลาดชันในที่ร่ม เป็นเฟินที่พบมากในสวนพฤกษศาสตร์ โดยเฉพาะบริเวณแปลงเฟิน และทางเดินขึ้นสำนักงาน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
Alloverthecountry
-
เชียงใหม่, พะเยา, พระนครศรีอยุธยา, เลย, อุดรธานี
-
เชียงใหม่
-
เลย
-
พังงา
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เฟิร์นบนดิน
-
เฟิร์นบนดิน
-
เฟิร์นบนดิน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ป่าดอยอินทนนท์, น้ำตกสิริภูมิ
-
ป่าภูหลวง, วังกอเหี๊ยะ
-
หมู่เกาะสุรินทร์, เกาะสุรินทร์เหนือยกเว้นหาด
ทรายทองและพบที่เกาะสุรินทร์ใต้
ที่มาของข้อมูล
Checklist of Plants in Thailand Volume I ปี 2557 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
OEPP Biodiversity Series Vol. 11 Pteridophytes in Thailand, 2543
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 5 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศภูเขา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 6 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกาะ, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
หญ้าไข่เห็บเล็ก
Eragrostis tenella
Eulalia smitinandiana
Goodyera thailandica
Peronema canescens
Macromitrium falcatulum
Conchidium muscicola
Previous
Next