Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Prinia inornata
Prinia inornata
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Prinia inornata
Sykes, 1832
Status:
ACCEPTED
ชื่อสามัญ::
-
Plain Prinia
ชื่อไทย:
-
นกกระจิบหญ้าสีเรียบ
ชื่อท้องถิ่น::
-
นกกระจิบหญ้าสีเรียบ
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Aves
อันดับ:
Passeriformes
วงศ์::
Cisticolidae
สกุล:
Prinia
ที่มา :
ศูนย์การเรียนรู้ความหลากหลายทางชีวภาพและความยั่งยืน "ชีวพนาเวศ"
ปรับปรุงล่าสุด :
7 พ.ค. 2568
ที่มา :
ศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา มหาราชินี (สถานตากอากาศบางปู)
ปรับปรุงล่าสุด :
6 ก.ค. 2566
ที่มา :
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
ปรับปรุงล่าสุด :
30 มิ.ย. 2566
วันที่อัพเดท :
19 ธ.ค. 2561 16:05 น.
วันที่สร้าง:
19 ธ.ค. 2561 16:05 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
นก
-
นกขนาดเล็กมาก (15 ชม) ด้านบนลำตัวสีน้ำตาล คิ้วและบริเวณหัวตาสีเทา ด้านล่าง ลำตัวสีขาวแกมสีเนื้อแกมน้ำตาลแดง
ขนหางด้านล่างสีน้ำตาล ท้องมีลายแถบสีเหลือง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
คิ้วยาวสีขาวหรือขาวแกมเหลืองชัดเจน หัวและลำตัวด้านบนน้ำตาล ลำตัวด้านล่างขาวแกมน้ำตาลเหลือง ขนหางใหญ่กว่านกกระจิบหญ้าอกเทาและนกกระจิบหญ้าสีข้างแดง ปลายหางด้านล่างขลิบน้ำตาลเข้มและขาว
ระบบนิเวศ :
-
ทุ่งหญ้า กอกก พงอ้อ ส่วนใหญ่พบตามพื้นที่ลุ่มน้ำ ที่ราบถึงความสูง 1,450 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
-
พบในพื้นที่ค่อนข้างขึ้น บริเวณป่าหญ้า กก อ้อ ที่อยู่ใกล้กับแหล่งน้ำ มักพบเป็นคู่หรือฝูงเล็กๆ ขึ้นอยู่กับฤดูกาล อาศัยและหากินภายในพุ่มหญ้า กอกก กออ้อหรือพุ่มไม้ต่างๆ อาหารได้แก่ แมลงวันและตัวหนอนต่างๆ
-
ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
-
ระบบนิเวศเกษตร
-
ระบบนิเวศป่าไม้
-
ระบบนิเวศภูเขา
-
ระบบนิเวศเกษตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
-
อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
-
เชียงใหม่,กำแพงเพชร
-
นนทบุรี
-
พะเยา
-
น่าน
-
น่าน
-
กระบี่
-
สมุทรปราการ
-
นนทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา
-
นนทบุรี
-
กรุงเทพมหานคร
-
กรุงเทพมหานคร
-
กาฬสินธุ์, ลำพูน, เชียงราย
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
การขยายพันธุ์ :
-
ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนพฤษภาคม-สิงหาคม ทำรังตามพุ่มไม้ กอหญ้าและพืชต่างๆ ด้วยการโน้มใบพืชหลายๆ ใบมารวมกันตรงกลาง ใช้ใบหญ้าฉีกชิ้นเล็กๆ ตามยาวเย็บหรือทำให้เชื่อมติดกัน คล้ายรูปทรงกระบอก ไข่สีขาว มีลายจุดขนาดใหญ่ สีน้ำตาลและสีแดง แต่ละรังมีไข่ 3-4 ฟอง ระยะเวลาฟักไข่ 11-12 วัน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ลุ่มน้ำปิง, แม่น้ำปิงตอนบน แม่น้ำแม่ริม คลองสวนหมาก
-
พื้นที่เกษตรกรรม
-
บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
-
บ้านดอยติ้ว ตำบลศรีภูมิ อำเภอท่าวังผา
-
พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
-
ป่าภูโหล่ย กาฬสินธุ์, ป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร ลำพูน, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2560)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2560)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
THNHM-B-02709
NSM
-
THNHM-B-02710
NSM
Pathum thani
THNHM-B-02711
NSM
Pathum thani
THNHM-B-02712
NSM
Bangkok
THNHM-B-02713
NSM
Bangkok
THNHM-B-02714
NSM
Bangkok
THNHM-B-02715
NSM
Nakhon pathom
THNHM-B-02716
NSM
Pathum thani
THNHM-B-02717
NSM
Nakhon sawan
THNHM-B-02718
NSM
Samut prakan
THNHM-B-02719
NSM
Samut prakan
THNHM-B-02720
NSM
Samut prakan
THNHM-B-02721
NSM
-
THNHM-B-02722
NSM
-
THNHM-B-02723
NSM
-
THNHM-B-02724
NSM
-
THNHM-B-03976
NSM
Bangkok
THNHM-B-04081
NSM
Nakhon nayok
THNHM-B-08212
NSM
Chiang rai
THNHM-B-08213
NSM
Chiang rai
THNHM-B-08214
NSM
Chiang rai
THNHM-B-08215
NSM
Nakhon phanom
THNHM-B-08216
NSM
Nakhon nayok
THNHM-B-08217
NSM
Chanthaburi
THNHM-B-11443
NSM
Nakhon sawan
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 7 Birds of Bung Boraphet, 2543
กรมป่าไม้
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
บริษัท บี.กริม เพาเวอร์ จำกัด (มหาชน)
บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศภูเขา (Mountain Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศเกษตร (Agricultural Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 7 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกษตร, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
IUCN Red List
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Coronidopsis bicuspis
Neptis duryodana
Noemacheilus baenzigeri
Cicindela interrupta
กบภูหลวง
Babina lini
Napothera brevicaudata
Previous
Next