Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Porphyrio poliocephalus
Porphyrio poliocephalus
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Porphyrio poliocephalus
(Latham, 1801)
Status:
SYNONYM
ชื่อสามัญ::
-
Grey-headed Swamphen
ชื่อไทย::
-
นกอีโก้ง
-
นกอีโก้ง
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Aves
อันดับ:
Gruiformes
วงศ์::
Rallidae
สกุล:
Porphyrio
ที่มา :
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
ปรับปรุงล่าสุด :
3 ก.ค. 2566
ที่มา :
สุภาพร เทียมวงศ์
ปรับปรุงล่าสุด :
30 มิ.ย. 2566
ที่มา :
สุภาพร เทียมวงศ์
ปรับปรุงล่าสุด :
30 มิ.ย. 2566
วันที่อัพเดท :
27 ส.ค. 2562 16:51 น.
วันที่สร้าง:
27 ส.ค. 2562 16:51 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
นกขนาดเล็กถึงกลาง (43 ซม.) ปากหนาและแบนข้าง มีสีแดง -สีน้ำตาลแดง กะบัง หน้าสีแดงจาง และจะมีสีแดงเข้ม ในช่วงฤดูผสมพันธุ์ คอยาวปานกลาง ปีกสั้น ขาค่อนข้างยาว แข้งและนิ้วปกติสีส้ม-แดง สีขนตามลำตัวทั่วไปเป็นสีม่วงเข้ม หรือสีน้ำเงิน
เหลือบดำแกมเขียว ด้านล่างลำตัวสีจะเด่นน้อยกว่า โดยจะเป็นสีดำปนเทา
-
หัวและลำตัวสีน้ำเงินแกมมวง ปากอวบใหญสีแดง โคนสันปาก
มีกะบังสีแดงสด หน้าและหัวสีเทาแกมขาว คอ อกตอนบน หลัง และปีกสีน้ำเงินคล้ำแกมน้ำตาล กนและขนคลุมใตหางขาว แขงและตีนสีแดงสด นกวัยออน สีคล้ำกว่า ปากดำ เสียงร้อง “คร้าก...”
ระบบนิเวศ :
-
อาศัยและหากินตามปากก หรือป่าหญ้า ที่ขึ้นในน้ำหรือขายน้ำของแหล่งน้ำต่างๆ เช่นหนอง บึง ทะเลสาบ มักพบเดินตามกอพืชต่างๆ ที่ขึ้นอยู่ในน้ำ หรือเดินบนพีชลอยน้ำหรือเดินลุยบนดินเลน กินทั้งพืชและสัตว์เป็นอาหาร โดยเฉพาะเมล็ดบัวหลวง เขียด ลูกกุ้ง และปลาเล็กๆ
-
ระบบนิเวศแมน้ำ หนองน้ำ พื้นที่ชุมน้ำ
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
-
อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
-
นนทบุรี
-
กรุงเทพมหานคร
-
กรุงเทพมหานคร
-
ลุ่มน้ำอิงตอนล่าง
การขยายพันธุ์ :
-
ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนมิถุนายน-ตุลาคม เป็นรังแบบง่ายๆ สร้างหยาบๆด้วยการใช้ต้นกก หรือ หญ้ามาช้อนทับกันบนกอกก หรือหญ้าอีกทีหนึ่ง ทำตรงกลาง
ให้เป็นแอ่งเพื่อรองรับไข่ ไข่มีสีพื้นเป็นสีขาว มีลายจุดสีม่วงอมน้ำเงิน แต่ละรังมีไข่ 3-4 ฟอง ระยะเวลาฟักไข่ 22-25 วัน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เชียงราย
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA965569
965569
2
PRJNA767221
767221
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 7 Birds of Bung Boraphet, 2543
คู่มือจำแนกชนิดพันธุ์นกน้ำ ในระบบนิเวศพื้นที่ชุ่มน้ำแม่น้ำอิงตอนล่าง, 2566, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
บริษัท บี.กริม เพาเวอร์ จำกัด (มหาชน)
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Conchoecetes andamanicus
Dasyatis uarnak
Lissocarcinus polybiodes
Neamia octospina
ด้วงงวงมะพร้าว ด้วงสาคู ด้วงลาน
Rhynchophorus ferrugineus
หนูหริ่งนาหางยาว
Mus caroli
Previous
Next