-
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่มสูงได้ถึง 8 ม. ปลายกิ่งมีรอยแผลใบชัดเจน ใบเป็นใบเดี่ยว รูปขอบขนานแกมรี กว้าง 4-8.5 ซม. ยาว 12-20 ซม.โคนใบสอบ ปลายใบแหลมสั้น ขอบใบเรียบ แผ่นใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ใบอ่อนมีต่อมสีดำที่ขอบใบ ก้านใบยาว 1-2 ซม. ดอกสีชมพู ออกเป็นช่อตามซอกใบ แกนช่อดอกยาว 3-10 ซม. ดอกย่อยมีจำนวนมาก กลีบรองดอก 5 กลีบ ขนาด 4-5 มม. กลีบดอก 5 กลีบ หนาเป็นมัน รูปไข่ปลายแหลม เกสรผู้สีเหลืองเกาะกันอยู่กลางดอก ผลเป็นผลสด ทรงกลม ขนาดผ่าศูนย์กลาง 7-9 มม. ผิวมีจุดใสๆ ทั่วผล
-
ไม้พุ่มสูงได้ถึง 8 ม. ปลายกิ่งมีรอยแผลใบชัดเจน ใบเป็นใบเดี่ยว รูปขอบขนานแกมรี กว้าง 4-8.5 ซม. ยาว 12-20 ซม.โคนใบสอบ ปลายใบแหลมสั้น ขอบใบเรียบ แผ่นใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ใบอ่อนมีต่อมสีดำที่ขอบใบ ก้านใบยาว 1-2 ซม. ดอกสีชมพู ออกเป็นช่อตามซอกใบ แกนช่อดอกยาว 3-10 ซม. ดอกย่อยมีจำนวนมาก กลีบรองดอก 5 กลีบ ขนาด 4-5 มม. กลีบดอก 5 กลีบ หนาเป็นมัน รูปไข่ปลายแหลม เกสรผู้สีเหลืองเกาะกันอยู่กลางดอก ผลเป็นผลสด ทรงกลม ขนาดผ่าศูนย์กลาง 7-9 มม. ผิวมีจุดใสๆ ทั่วผล
-
ไม้พุ่มสูงได้ถึง 8 ม. ปลายกิ่งมีรอยแผลใบชัดเจน ใบเป็นใบเดี่ยว รูปขอบขนานแกมรี กว้าง 4-8.5 ซม. ยาว 12-20 ซม.โคนใบสอบ ปลายใบแหลมสั้น ขอบใบเรียบ แผ่นใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ใบอ่อนมีต่อมสีดำที่ขอบใบ ก้านใบยาว 1-2 ซม. ดอกสีชมพู ออกเป็นช่อตามซอกใบ แกนช่อดอกยาว 3-10 ซม. ดอกย่อยมีจำนวนมาก กลีบรองดอก 5 กลีบ ขนาด 4-5 มม. กลีบดอก 5 กลีบ หนาเป็นมัน รูปไข่ปลายแหลม เกสรผู้สีเหลืองเกาะกันอยู่กลางดอก ผลเป็นผลสด ทรงกลม ขนาดผ่าศูนย์กลาง 7-9 มม. ผิวมีจุดใสๆ ทั่วผล
-
ไม้พุ่มสูงได้ถึง 8 ม. ปลายกิ่งมีรอยแผลใบชัดเจน ใบเป็นใบเดี่ยว รูปขอบขนานแกมรี กว้าง 4-8.5 ซม. ยาว 12-20 ซม.โคนใบสอบ ปลายใบแหลมสั้น ขอบใบเรียบ แผ่นใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ใบอ่อนมีต่อมสีดำที่ขอบใบ ก้านใบยาว 1-2 ซม. ดอกสีชมพู ออกเป็นช่อตามซอกใบ แกนช่อดอกยาว 3-10 ซม. ดอกย่อยมีจำนวนมาก กลีบรองดอก 5 กลีบ ขนาด 4-5 มม. กลีบดอก 5 กลีบ หนาเป็นมัน รูปไข่ปลายแหลม เกสรผู้สีเหลืองเกาะกันอยู่กลางดอก ผลเป็นผลสด ทรงกลม ขนาดผ่าศูนย์กลาง 7-9 มม. ผิวมีจุดใสๆ ทั่วผล
-
การกระจายพันธุ์ :
-
พบกระจายในจีน พม่า และเวียดนาม ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตามป่าเบญจพรรณและป่าเต็งรัง ที่ระดับความสูง 400-900 ม.
-
พบกระจายในจีน พม่า และเวียดนาม ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตามป่าเบญจพรรณและป่าเต็งรัง ที่ระดับความสูง 400-900 ม.
-
พบกระจายในจีน พม่า และเวียดนาม ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตามป่าเบญจพรรณและป่าเต็งรัง ที่ระดับความสูง 400-900 ม.
-
พบกระจายในจีน พม่า และเวียดนาม ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตามป่าเบญจพรรณและป่าเต็งรัง ที่ระดับความสูง 400-900 ม.
-
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
นครราชสีมา
-
สงขลา
-
สุราษฎร์ธานี, ระนอง
-
พังงา
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
ตาก
-
ลำปาง
-
นนทบุรี
-
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ สันกาลาคีรี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี