Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Polygonum tomentosum
Polygonum tomentosum
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Pistia stratiotes
L.
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Polygonum tomentosum Eckl. & Zeyh.
ชื่อสามัญ::
-
Knotweed
ชื่อไทย::
-
ผักไผ่น้ำ
-
เอื้องเพ็ดม้า
ชื่อท้องถิ่น::
-
เอื้องเพ็ดม้า
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Alismatales
วงศ์::
Araceae
สกุล:
Polygonum
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
4 ก.ค. 2566
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:30 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:30 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
พืชล้มลุก อายุข้ามปี ลำต้นอวบน้ำ ทอดเลื้อยชูยอดตั้งขึ้น สูงประมาณ 75 ซม. มีข้อปล้องชัดเจน ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับรอบต้น รูปหอก กว้าง 5 – 8 ซม. ยาว 15 – 30 ซม. ผิวใบมีขนขาวปกคลุมทั้งสองด้าน โคนก้านใบแผ่เป็นแผ่นบางหุ้มบริเวณข้อ ดอก สีขาวออกเป็นช่อจากซอกใบ หรือปลายยอด ยาวประมาณ 10 – 15 ซม. ดอกย่อยเรียงตัวรอบก้านช่อดอกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 3 มม. กลีบรวม 5 กลีบ เกสรผู้ 5 อัน ปลายเกสรเมียแยกเป็น 2 เส้น ผล แห้งแล้วไม่แตก ทรงกลมนูนสองข้าง สีน้ำตาล มีเมล็ดเดียว เป็นรูปสามเหลี่ยมแข็ง สีดำ
-
พืชล้มลุก อายุข้ามปี ลำต้นอวบน้ำ ทอดเลื้อยชูยอดตั้งขึ้น สูงประมาณ 75 ซม. มีข้อปล้องชัดเจน ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับรอบต้น รูปหอก กว้าง 5 – 8 ซม. ยาว 15 – 30 ซม. ผิวใบมีขนขาวปกคลุมทั้งสองด้าน โคนก้านใบแผ่เป็นแผ่นบางหุ้มบริเวณข้อ ดอก สีขาวออกเป็นช่อจากซอกใบ หรือปลายยอด ยาวประมาณ 10 – 15 ซม. ดอกย่อยเรียงตัวรอบก้านช่อดอกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 3 มม. กลีบรวม 5 กลีบ เกสรผู้ 5 อัน ปลายเกสรเมียแยกเป็น 2 เส้น ผล แห้งแล้วไม่แตก ทรงกลมนูนสองข้าง สีน้ำตาล มีเมล็ดเดียว เป็นรูปสามเหลี่ยมแข็ง สีดำ
การกระจายพันธุ์ :
-
มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา แล้วกระจายทั่วไปในเขตร้อนชอบขึ้น ในพื้นที่แฉะมีน้ำขัง ในประเทศไทยพบทุกภาค ออกดอกเกือบตลอดปี
-
มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา แล้วกระจายทั่วไปในเขตร้อนชอบขึ้น ในพื้นที่แฉะมีน้ำขัง ในประเทศไทยพบทุกภาค ออกดอกเกือบตลอดปี
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ลำปาง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อาหาร,ทำยา
ที่มาของข้อมูล
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน (Inland Water Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Pelatantheria ctenoglossum
Kaempferia koratensis
Cyclosorus megaphyllus
Asplenium yoshinagae
Homaliodendron intermedium
ยาบใบยาว
Colona flagrocarpa
Previous
Next