Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Polygala chinensis
Polygala chinensis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Polygala chinensis
L.
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย:
-
คำเตี้ย
ชื่อท้องถิ่น::
-
คำเตี้ย(เลย) มักกำ(เชียงใหม่) ม้าอีก่ำ(อุบลฯ ยโสธร) ม้าอีก่ำแดง(อุบลฯ) ปีกไก่ดำ
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Fabales
วงศ์::
Polygalaceae
สกุล:
Polygala
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:40 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:40 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ล้มลุก สูง 30-50 ซม. ลำต้นตั้งตรงหรือทอดเลื้อยและชูยอดขึ้น รากมีกลิ่นหอม ใบเดี่ยว รูปใบหอก ยาว 2-5 ซม. ดอกออกเป็นกระจุกที่ซอกใบ กลีบดอกคู่นอกสีเขียว กลีบดอกคู่ในสีขาว กลีบปากสีขาวเจือชมพู ปลายมีขนครุย ออกดอกเดือนพฤษภาคม
-
ไม้ล้มลุก สูง 30-50 ซม. ลำต้นตั้งตรงหรือทอดเลื้อยและชูยอดขึ้น รากมีกลิ่นหอม ใบเดี่ยว รูปใบหอก ยาว 2-5 ซม. ดอกออกเป็นกระจุกที่ซอกใบ กลีบดอกคู่นอกสีเขียว กลีบดอกคู่ในสีขาว กลีบปากสีขาวเจือชมพู ปลายมีขนครุย ออกดอกเดือนพฤษภาคม
-
ลำต้นสูง 19-35 เซนติเมตร ลำต้นมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.7-2.5 เซนติเมตร ใบกว้าง 1.9-2.6 เซนติเมตร ยาว 5.4-6.3 เซนติเมตร ก้านใบยาว 0.2-0.3 เซนติเมตร มีดอกย่อย 6-15 ดอก ก
การกระจายพันธุ์ :
-
พบบริเวณที่โล่งในป่าดิบแล้ง
-
พบบริเวณที่โล่งในป่าดิบแล้ง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้พุ่มขนาดเล็ก
-
เป็นพืชล้มลุก อายุปีเดียว ลำต้นตั้งตรง ขยี้รากจะมีกลิ่นหอมใบเดี่ยวเรียงสลับ ใบเป็นรูปขอบขนานแกมรูปใบกลับ (obovate-oblong) ถึงรูปใบหอกแกมรูปใข่กลับ (obovate-lanceolate) หน้าใบและหลังใบมีขนสั้นๆสีน้ำตาลจำนวนมากจะเห็นชัดเจนเมื่อใช้แว่นขยาย ขอบใบมีขนครุย (ciliate) ออกดอกเป็นกระจุกตามซอกใบ มีดอกย่อย 6-15 ดอก กลีบเลี้ยงมีสีเขียวอ่อน กลีบดอกอับเรณูและเกสรเพศเมียสีขาวนวลออกดอกช่วงเดือนสิงหาคม ถึงเดือนพฤศจิกายน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุบลราชธานี
-
ยโสธร
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ผาแต้ม
-
พบในสภาพดินร่วนปนทราย ในสวนป่า เช่นอำเภอไทยเจริญ จังหวัดยโสธร
ถิ่นกำเนิด :
-
ไทย
ที่มาของข้อมูล
พืชอาหารสัตว์พื้นเมือง เล่ม 1
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Ichnocarpus fulvus
Ochroma pyramidale
โกฐเขมา
Atractylodes lyrata
Cyclosorus unitus
Goniophlebium percussum
Osmanthus matsumuranus
Previous
Next