Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Polyalthia cerasoides
Polyalthia cerasoides
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Polyalthia cerasoides
(Roxb.) Hook.f. & Thomson
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย::
-
กะเจียน
-
กระเจียน
ชื่อท้องถิ่น::
-
ค่าสามซีก แคหาง จันทน์ดง ทรายเด่น กะเจียน พญารากดำ
-
ค่าสามซีก (เชียงใหม่); แคหาง (ราชบุรี); จันทน์ดง, ทรายเด่น (ขอนแก่น); พญารากดำ, กระเจียน (ชลบุรี); โมดดง (ระยอง); สะบันงาป่า (ภาคเหนือ); เหลือง (ลำปาง)
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Magnoliales
วงศ์::
Annonaceae
สกุล:
Hubera
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:38 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:38 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 5-15 ม. ลำต้นเปลา เปลือกเรียบ ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปใบหอกแกมรูปขอบขนาน และมักเบี้ยว ใบอ่อนมีขนนุ่มทั่วไป ดอกออกเดี่ยวๆ หรือเป็นกลุ่มไม่เกิน 3 ดอก ตามง่ามใบและเหนือรอยแผลใบตามกิ่ง กลีบเลี้ยง 3 กลีบ กลีบดอกสีเขียวอ่อน เรียงสลับกัน 2 ชั้น ชั้นละ 3 กลีบ เกสรเพศผู้มีจำนวนมาก อยู่ชิดกันแน่นเป็นพุ่มกลม ผลเป็นผลกลุ่ม อยู่บนแกนตุ้มกลม แต่ละผลป้อม ปลายเป็นติ่ง ผลอ่อนสีเขียว แก่จัดเป็นสีแสด ก้านผลเรียวเล็ก โคนก้านติดรวมอยู่บนปลายก้านช่อที่โตเป็นตุ้ม
-
ไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 5-15 ม. ลำต้นเปลา เปลือกเรียบ ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปใบหอกแกมรูปขอบขนาน และมักเบี้ยว ใบอ่อนมีขนนุ่มทั่วไป ดอกออกเดี่ยวๆ หรือเป็นกลุ่มไม่เกิน 3 ดอก ตามง่ามใบและเหนือรอยแผลใบตามกิ่ง กลีบเลี้ยง 3 กลีบ กลีบดอกสีเขียวอ่อน เรียงสลับกัน 2 ชั้น ชั้นละ 3 กลีบ เกสรเพศผู้มีจำนวนมาก อยู่ชิดกันแน่นเป็นพุ่มกลม ผลเป็นผลกลุ่ม อยู่บนแกนตุ้มกลม แต่ละผลป้อม ปลายเป็นติ่ง ผลอ่อนสีเขียว แก่จัดเป็นสีแสด ก้านผลเรียวเล็ก โคนก้านติดรวมอยู่บนปลายก้านช่อที่โตเป็นตุ้ม
การกระจายพันธุ์ :
-
อินเดีย จีน ไทย กัมพูชา ลาว เวียดนาม พบตามป่าเนินเขา ระดับความสูง 100-1100 เมตร เหนือระดับน้ำทะเล
-
อินเดีย จีน ไทย กัมพูชา ลาว เวียดนาม พบตามป่าเนินเขา ระดับความสูง 100-1100 เมตร เหนือระดับน้ำทะเล
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. กิ่งแก่มีช่องอากาศ มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อนและแผ่นใบ ด้านล่าง ใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 6-19 ซม. ก้านใบสั้น ช่อดอกออก ตามซอกใบส่วนมากมีดอกเดียว ก้านดอกยาว 1-2 ซม. ใบประดับคล้ายใบ 1-2 อัน ติดใต้กึ่งกลางก้านดอก ติดทน กลีบเลี้ยงรูปขอบขนานแกมรูปไข่ ยาว 8-9 มม. ด้านนอกมีขนยาว ดอกสีเขียว กลีบยาวเท่า ๆ กลีบเลี้ยง แผ่นกลีบหนา มีขนประปรายคาร์เพลมีขนสั้นนุ่ม ก้านช่อผลยาว 1.5-2 ซม. ผลย่อยรูปรีกว้าง เส้นผ่านศูนย์กลาง ประมาณ 6 มม. สุกสีแดงและดำ ก้านผลย่อยยาวเท่า ๆ ก้านช่อ ส่วนมากมีเมล็ดเดียว พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทุกภาค ภาคใต้ถึง ชุมพร ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ หรือบนเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 1200 เมตร เปลือกเหนียวใช้ทำเชือกหรือกระสอบ ดอกใช้ทำน้ำหอม
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. กิ่งแก่มีช่องอากาศ มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อนและแผ่นใบ ด้านล่าง ใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 6-19 ซม. ก้านใบสั้น ช่อดอกออก ตามซอกใบส่วนมากมีดอกเดียว ก้านดอกยาว 1-2 ซม. ใบประดับคล้ายใบ 1-2 อัน ติดใต้กึ่งกลางก้านดอก ติดทน กลีบเลี้ยงรูปขอบขนานแกมรูปไข่ ยาว 8-9 มม. ด้านนอกมีขนยาว ดอกสีเขียว กลีบยาวเท่า ๆ กลีบเลี้ยง แผ่นกลีบหนา มีขนประปรายคาร์เพลมีขนสั้นนุ่ม ก้านช่อผลยาว 1.5-2 ซม. ผลย่อยรูปรีกว้าง เส้นผ่านศูนย์กลาง ประมาณ 6 มม. สุกสีแดงและดำ ก้านผลย่อยยาวเท่า ๆ ก้านช่อ ส่วนมากมีเมล็ดเดียว พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทุกภาค ภาคใต้ถึง ชุมพร ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ หรือบนเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 1200 เมตร เปลือกเหนียวใช้ทำเชือกหรือกระสอบ ดอกใช้ทำน้ำหอม
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. กิ่งแก่มีช่องอากาศ มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อนและแผ่นใบ ด้านล่าง ใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 6-19 ซม. ก้านใบสั้น ช่อดอกออก ตามซอกใบส่วนมากมีดอกเดียว ก้านดอกยาว 1-2 ซม. ใบประดับคล้ายใบ 1-2 อัน ติดใต้กึ่งกลางก้านดอก ติดทน กลีบเลี้ยงรูปขอบขนานแกมรูปไข่ ยาว 8-9 มม. ด้านนอกมีขนยาว ดอกสีเขียว กลีบยาวเท่า ๆ กลีบเลี้ยง แผ่นกลีบหนา มีขนประปรายคาร์เพลมีขนสั้นนุ่ม ก้านช่อผลยาว 1.5-2 ซม. ผลย่อยรูปรีกว้าง เส้นผ่านศูนย์กลาง ประมาณ 6 มม. สุกสีแดงและดำ ก้านผลย่อยยาวเท่า ๆ ก้านช่อ ส่วนมากมีเมล็ดเดียว พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทุกภาค ภาคใต้ถึง ชุมพร ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ หรือบนเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 1200 เมตร เปลือกเหนียวใช้ทำเชือกหรือกระสอบ ดอกใช้ทำน้ำหอม
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. กิ่งแก่มีช่องอากาศ มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อนและแผ่นใบ ด้านล่าง ใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 6-19 ซม. ก้านใบสั้น ช่อดอกออก ตามซอกใบส่วนมากมีดอกเดียว ก้านดอกยาว 1-2 ซม. ใบประดับคล้ายใบ 1-2 อัน ติดใต้กึ่งกลางก้านดอก ติดทน กลีบเลี้ยงรูปขอบขนานแกมรูปไข่ ยาว 8-9 มม. ด้านนอกมีขนยาว ดอกสีเขียว กลีบยาวเท่า ๆ กลีบเลี้ยง แผ่นกลีบหนา มีขนประปรายคาร์เพลมีขนสั้นนุ่ม ก้านช่อผลยาว 1.5-2 ซม. ผลย่อยรูปรีกว้าง เส้นผ่านศูนย์กลาง ประมาณ 6 มม. สุกสีแดงและดำ ก้านผลย่อยยาวเท่า ๆ ก้านช่อ ส่วนมากมีเมล็ดเดียว พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทุกภาค ภาคใต้ถึง ชุมพร ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ หรือบนเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 1200 เมตร เปลือกเหนียวใช้ทำเชือกหรือกระสอบ ดอกใช้ทำน้ำหอม
การขยายพันธุ์ :
-
การเพาะเมล็ด
-
การเพาะเมล็ด
-
การเพาะเมล็ด
-
การเพาะเมล็ด
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
สระบุรี
-
แม่ฮ่องสอน
-
จันทบุรี
-
ระยอง
-
ลพบุรี
-
กาญจนบุรี, ตาก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาวงจันแดง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ลุ่มน้ำปายฝั่งซ้าย
-
อุทยานแห่งชาติ เขาสิบห้าชั้น
-
อุทยานแห่งชาติ เขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
สมุนไพร,ไม้ดอกไม้ประดับ
-
1. ผลสุกในส่วนของเนื้อหุ้มเมล็ดจะมีรสหวาน สามารถนำมารับประทานได้ 2. เนื้อไม้มีสีขาวอมเหลือง นำมาใช้ทำด้ามเครื่องเกษตรกรรมทั่วไปได้ บ้างใช้ทำเครื่องจักสานและเครื่องมือใช้สอยต่าง ๆ
-
1. ผลสุกในส่วนของเนื้อหุ้มเมล็ดจะมีรสหวาน สามารถนำมารับประทานได้ 2. เนื้อไม้มีสีขาวอมเหลือง นำมาใช้ทำด้ามเครื่องเกษตรกรรมทั่วไปได้ บ้างใช้ทำเครื่องจักสานและเครื่องมือใช้สอยต่าง ๆ
-
1. ผลสุกในส่วนของเนื้อหุ้มเมล็ดจะมีรสหวาน สามารถนำมารับประทานได้ 2. เนื้อไม้มีสีขาวอมเหลือง นำมาใช้ทำด้ามเครื่องเกษตรกรรมทั่วไปได้ บ้างใช้ทำเครื่องจักสานและเครื่องมือใช้สอยต่าง ๆ
-
1. ผลสุกในส่วนของเนื้อหุ้มเมล็ดจะมีรสหวาน สามารถนำมารับประทานได้ 2. เนื้อไม้มีสีขาวอมเหลือง นำมาใช้ทำด้ามเครื่องเกษตรกรรมทั่วไปได้ บ้างใช้ทำเครื่องจักสานและเครื่องมือใช้สอยต่าง ๆ
ที่มาของข้อมูล
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Koyamasia curtisii
Bulbophyllum nipondhii
Pandanus odoratissimus
Phyllanthus pulcheroides
Paraixeris sonchifolia
ก้างปลา
Breynia coronata
Previous
Next