Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Ploceus philippinus
Ploceus philippinus
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Ploceus philippinus
(Linnaeus, 1766)
Status:
ACCEPTED
ชื่อสามัญ::
-
Baya Weaver
ชื่อไทย::
-
นกกระจาบธรรมดา
-
นกกระจาบอกเรียบ
-
นกจาบธรรมดา
ชื่อท้องถิ่น::
-
ตีเยาะบง, ตีเยาะเจอ
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Aves
อันดับ:
Passeriformes
วงศ์::
Ploceidae
สกุล:
Ploceus
ที่มา :
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
12 ธ.ค. 2567
ที่มา :
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
12 ธ.ค. 2567
ที่มา :
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
12 ธ.ค. 2567
ที่มา :
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
ปรับปรุงล่าสุด :
30 มิ.ย. 2566
วันที่อัพเดท :
19 ธ.ค. 2561 16:05 น.
วันที่สร้าง:
19 ธ.ค. 2561 16:05 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
นกขนาดเล็กมาก (15 ซม.) ตัวผู้ในช่วง ฤดูผสมพันธุ์กระหม่อมเป็นสีเหลือง มีลาย
ขีดสีดำที่ใบหน้า ด้านล่างลำตัวไม่มีลายขีดใดๆ ตัวเมียและตัวผู้นอกฤดูผสมพันธุ์ มีลายขีดที่อกแต่ไม่เด่นชัด ตัวเมียด้านบนลำตัวสีเหลืองสลับน้ำตาลเข้ม ด้านล่างสีจางกว่า
ระบบนิเวศ :
-
พบทั่วไปตามป่าละเมาะ ป่าโปร่ง ทุ่งนา ทุ่งโล่ง อาจพบเป็นฝูง โดยแต่ละฝูงมีขนาดใหญ่มาก มักเกาะตามกิ่งไม้ หรือต้นธัญพีช กินเมล็ดข้าวเปลือก ธัญพืช และเมล็ดหญ้าเป็นอาหาร นอกจากนี้ยังกินแมลง ตัวหนอน และสัตว์ขนาดเล็กๆ อีกด้วย
-
marshes, rice paddies, grassland.
-
นาข้าว
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
-
อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
-
กระบี่
-
สมุทรปราการ
-
นนทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา
-
กรุงเทพมหานคร
-
กรุงเทพมหานคร
-
พะเยา, อุตรดิตถ์, เชียงราย
-
พะเยา, กาญจนบุรี, เชียงราย
-
ยะลา,ปัตตานี
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว
การขยายพันธุ์ :
-
ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนเมษายน -สิงหาคม ทำวังตามปลายกิ่งไม้ต่างๆ เป็นรังแบบแขวน ตัวผู้เป็นตัวเลือกสถานที่ หาวัสดุ และทำรังเอง โดยใช้วัสดุมาสานสอดเข้าด้วยกันอย่างมีศิลปะ มีรูปร่างคล้ายหยดน้ำ ตัวเมียจะเลือกรังที่ตัวผู้สร้างขึ้นมาและเสริมรังต่อเป็นท่อยาว ซึ่งเป็นทางเข้าออก ในแต่ละรังมีไข่ 3-4 ฟอง ไข่สีขาว ระยะเวลาฟักไข่ 11-12 วัน
การกระจายพันธุ์ :
-
Indo-West Pacific
-
นกประจำถิ่น
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
-
ป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว พะเยา, ป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา อุตรดิตถ์, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
-
ป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว พะเยา, ป่าวังใหญ่ และป่าแม่น้ำน้อย กาญจนบุรี, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
-
พรุลานควาย
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2560)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2560)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA1103938
1103938
2
PRJNA965401
965401
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 7 Birds of Bung Boraphet, 2543
Thailand Red Data: Mammals, Reptiles and Amphibians, 2005
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
กรมป่าไม้
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
บริษัท บี.กริม เพาเวอร์ จำกัด (มหาชน)
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน นก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในพรุลานควาย, โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรชุมชนและเครือข่ายเพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูพรุลานควายอย่างยั่งยืน, กองบริหารกองทุนสิ่งแวดล้อม, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
IUCN Red List
IUCN Red List
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
ผีเสื้อหนอนมะพร้าวขีดฟ้า
Elymnias patna
ปูลำห้วยโฮลธอยส์
Siamthelphusa holthuisi
Potanthus palnia
Plicofollis dussumieri
ด้วงดิน
Eucyrtus annulipes
เหยี่ยวค้างคาว
Macheiramphus alcinus
Previous
Next