Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Ploceus hypoxanthus
Ploceus hypoxanthus
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Ploceus hypoxanthus
(Sparrman, 1788)
Status:
ACCEPTED
ชื่อสามัญ::
-
Asian Golden Weaver
ชื่อไทย::
-
นกกระจาบทอง
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Aves
อันดับ:
Passeriformes
วงศ์::
Ploceidae
สกุล:
Ploceus
ที่มา :
บริษัท บี.กริม เพาเวอร์ จำกัด (มหาชน)
ปรับปรุงล่าสุด :
4 มิ.ย. 2567
ที่มา :
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
ปรับปรุงล่าสุด :
30 มิ.ย. 2566
วันที่อัพเดท :
19 ธ.ค. 2561 16:22 น.
วันที่สร้าง:
19 ธ.ค. 2561 16:22 น.
ข้อมูลทั่วไป
ระบบนิเวศ :
-
marshes, rice paddies, grassland nearwater.
-
พบตามทุ่งนา และบริเวณพื้นที่ชุ่มน้ำต่างๆ พบเป็นฝูง มักเกาะตามกิ่งไผ่ ต้นโสน หรือตามพืชโผล่พ้นน้ำ กินข้าวเปลือก ธัญพืช และเมล็ดหญ้าเป็นอาหาร นอกจากนี้ยังกินแมลงและตัวหนอนอีกด้วย
การกระจายพันธุ์ :
-
Indo-Pacific
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Uncommon resident in NE, W(s) and C, much reduced by
nearwater. human persecution.
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
นกขนาดเล็กมาก (15 ซม.) ตัวผู้และตัวเมียลักษณะคล้ายกันในช่วงนอกฤดูผสมพันธุ์ แต่ตัวผู้จะมีแถบสีดำจางๆ ข้างแก้ม และกลางกระหม่อมก็เป็นสีเหลืองจางๆ ด้วย แต่ในช่วงฤดูผสมพันธุ์ตัวผู้จะมีสีเหลืองสดเกือบทั่วทั้งตัว ยกเว้นบริเวณทางจะเป็นสีน้ำตาล หลังมีสีน้ำตาลสลับเหลือง ปาก คอหอย และแก้มสีดำ
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
-
อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
-
ฉะเชิงเทรา
-
นนทบุรี
-
กรุงเทพมหานคร
-
กรุงเทพมหานคร
การขยายพันธุ์ :
-
ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนพฤษภาคม-สิงหาคม ทำรังด้วยใบหญ้าที่ฉีกเป็นเส้นยาวๆ แล้วนำมาพันกับต้นไม้เล็กๆ หรือพืชที่ขึ้นอยู่ในน้ำ รังเป็นรูปทรงกลมทางเข้าออกเป็นรูอยู่ทางด้านข้าง ตัวผู้จะเริ่มสร้างรังก่อน และตัวเมียเสริมรังให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ในแต่ละรังมีไข่ 3-4 ฟอง ไข่สีขาว ระยะเวลาฟักไข่ 11- 12 วัน
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (IUCN, 2017)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (ONEP, 2560)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (IUCN, 2017)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (ONEP, 2560)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 7 Birds of Bung Boraphet, 2543
ONEP Biodiversity Series Vol. 15 : Thailand Red Data : Birds
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
บริษัท บี.กริม เพาเวอร์ จำกัด (มหาชน)
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
IUCN Red List
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
ผีเสื้อเจาะฝักนุ่น
Mudaria variabilis
ผีเสื้อหนอนปาล์ม
Telicota linna
ซิวใบไผ่เล็ก
Brachydanio roseus
Orthomorpha variegata
ผีเสื้อหนอนบุ้งบุนนาก
Kunugia latipennis
จิ้งจกนิ้วยาวจุดคู่
Cnemaspis biocellata
Previous
Next