Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Ardisia corymbifera
Ardisia corymbifera
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Ardisia corymbifera
Mez
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Ardisia corymbifera var. tuberifera C.Chen
- Ardisia pseudocrispa Pit.
ชื่อไทย:
-
มะจ้ำก้อง
-
จีปุกดอย
-
จีปุก
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Ericales
วงศ์::
Primulaceae
สกุล:
Ardisia
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:25 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:25 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่ม สูง 1-3 ม.ใบเป็นใบเดี่ยว รูปหอกแกมขอบขนาน กว้าง 2-3.8 ซม. ยาว 5-18 ซม. โคนใบมน ปลายใบแหลมเป็นติ่ง ขอบใบเป็นคลื่นเล็กน้อย และมีต่อมที่รอยหยัก กิ่งอ่อนและแผ่นใบด้านล่างมีขนหนาแน่น เส้นใบไม่ชัดเจน ดอกสีชมพูถึงชมพูเข้ม มีจุดดำประปราย ขนาดดอกบาน 6-8 มม. ออกเป็นช่อคล้ายร่ม กลีบดอก 5 กลีบ เกสรผู้ 5 อัน เรียงชิดกัน ล้อมรังไข่ไว้ภายใน ผลเป็นผลสดรูปกลม ขนาด 7-8 มม. เมื่อสุกสีชมพูถึงสีแดง
-
ไม้พุ่ม สูง 1-3 ม.ใบเป็นใบเดี่ยว รูปหอกแกมขอบขนาน กว้าง 2-3.8 ซม. ยาว 5-18 ซม. โคนใบมน ปลายใบแหลมเป็นติ่ง ขอบใบเป็นคลื่นเล็กน้อย และมีต่อมที่รอยหยัก กิ่งอ่อนและแผ่นใบด้านล่างมีขนหนาแน่น เส้นใบไม่ชัดเจน ดอกสีชมพูถึงชมพูเข้ม มีจุดดำประปราย ขนาดดอกบาน 6-8 มม. ออกเป็นช่อคล้ายร่ม กลีบดอก 5 กลีบ เกสรผู้ 5 อัน เรียงชิดกัน ล้อมรังไข่ไว้ภายใน ผลเป็นผลสดรูปกลม ขนาด 7-8 มม. เมื่อสุกสีชมพูถึงสีแดง
-
ไม้พุ่ม สูง 1-3 ม.ใบเป็นใบเดี่ยว รูปหอกแกมขอบขนาน กว้าง 2-3.8 ซม. ยาว 5-18 ซม. โคนใบมน ปลายใบแหลมเป็นติ่ง ขอบใบเป็นคลื่นเล็กน้อย และมีต่อมที่รอยหยัก กิ่งอ่อนและแผ่นใบด้านล่างมีขนหนาแน่น เส้นใบไม่ชัดเจน ดอกสีชมพูถึงชมพูเข้ม มีจุดดำประปราย ขนาดดอกบาน 6-8 มม. ออกเป็นช่อคล้ายร่ม กลีบดอก 5 กลีบ เกสรผู้ 5 อัน เรียงชิดกัน ล้อมรังไข่ไว้ภายใน ผลเป็นผลสดรูปกลม ขนาด 7-8 มม. เมื่อสุกสีชมพูถึงสีแดง
-
ไม้พุ่ม สูง 1-3 ม.ใบเป็นใบเดี่ยว รูปหอกแกมขอบขนาน กว้าง 2-3.8 ซม. ยาว 5-18 ซม. โคนใบมน ปลายใบแหลมเป็นติ่ง ขอบใบเป็นคลื่นเล็กน้อย และมีต่อมที่รอยหยัก กิ่งอ่อนและแผ่นใบด้านล่างมีขนหนาแน่น เส้นใบไม่ชัดเจน ดอกสีชมพูถึงชมพูเข้ม มีจุดดำประปราย ขนาดดอกบาน 6-8 มม. ออกเป็นช่อคล้ายร่ม กลีบดอก 5 กลีบ เกสรผู้ 5 อัน เรียงชิดกัน ล้อมรังไข่ไว้ภายใน ผลเป็นผลสดรูปกลม ขนาด 7-8 มม. เมื่อสุกสีชมพูถึงสีแดง
การกระจายพันธุ์ :
-
เป็นไม้เฉพาะถิ่นของไทย พบที่ภูหินร่องกล้า จ.พิษณุโลก บริเวณป่าดิบเขา ริมธารน้ำ ที่ระดับความสูง 1,000-1,800 ม. ออกดอและติดผลช่วงเดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม
-
N Thailand: Phitsanulok (Phu Hin Rongkla), Nan (Doi Phukha)
-
เป็นไม้เฉพาะถิ่นของไทย พบที่ภูหินร่องกล้า จ.พิษณุโลก บริเวณป่าดิบเขา ริมธารน้ำ ที่ระดับความสูง 1,000-1,800 ม. ออกดอและติดผลช่วงเดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม
-
เป็นไม้เฉพาะถิ่นของไทย พบที่ภูหินร่องกล้า จ.พิษณุโลก บริเวณป่าดิบเขา ริมธารน้ำ ที่ระดับความสูง 1,000-1,800 ม. ออกดอและติดผลช่วงเดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม
-
เป็นไม้เฉพาะถิ่นของไทย พบที่ภูหินร่องกล้า จ.พิษณุโลก บริเวณป่าดิบเขา ริมธารน้ำ ที่ระดับความสูง 1,000-1,800 ม. ออกดอและติดผลช่วงเดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้พุ่ม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
Endemic
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Lower montane forest, 1000 − 1600 m.
ที่มาของข้อมูล
ONEP Biodiversity Series Vol. 17 : Thailand Red Data : Plants (2006)
ป่าชุมชน บ.ทุ่ง ต.แจ้ซ้อน อ.เมืองปาน
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Calamus wailong
Lonicera ferruginea
หมักก้านสั้น
Drypetes subsessilis
Tarenna quocensis
Frullania tenuicaulis
Bostrychia radicans
Previous
Next