Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Platycerium wallichii
Platycerium wallichii
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Platycerium wallichii
Hook.
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Alcicornium wallichii (Hook.) Underw.
ชื่อไทย::
-
ห่อข้าวย่าบา
ชื่อท้องถิ่น::
-
ชายผ้าสีดา
-
กะฌอโพน่า, กระปรอกหัวหมู, กระปรอกใหญ่, ชายผ้าสีดา, ตองห่อข้าวย่าบา, หัวเฒ่าอีบา
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Polypodiopsida
อันดับ:
Polypodiales
วงศ์::
Polypodiaceae
สกุล:
Platycerium
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
4 ก.ค. 2566
วันที่อัพเดท :
19 มิ.ย. 2562 02:44 น.
วันที่สร้าง:
19 มิ.ย. 2562 02:44 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
Epiphytic fern.
-
เป็นเฟินอิงอาศัยต้นไม้ มีรูปร่างลักษณะเหมือนชายผ้าสีดา แตกต่างกันตรงที่ ใบที่สร้างสปอร์จะมีแฉกลึกมากกว่า 2 แฉก ในฤดูแล้งมีการผลัดใบและพักตัวอยู่นานหลายเดือน ตลอดช่วงฤดูแล้ง ซึ่งจะเห็นใบปรกติมีสีน้ำตาล
-
เป็นเฟินอิงอาศัยต้นไม้ มีรูปร่างลักษณะเหมือนชายผ้าสีดา แตกต่างกันตรงที่ ใบที่สร้างสปอร์จะมีแฉกลึกมากกว่า 2 แฉก ในฤดูแล้งมีการผลัดใบและพักตัวอยู่นานหลายเดือน ตลอดช่วงฤดูแล้ง ซึ่งจะเห็นใบปรกติมีสีน้ำตาล
ระบบนิเวศ :
-
Epiphytic on tree-trunks usually in not so dense
forests, not so rare, at lower altitude throughout the country
การกระจายพันธุ์ :
-
E India, Myanmar (Tenasserim) and Yunnan to Malaysia.
-
พบมากทางภาคเหนือ เนื่องจากต้องการอากาศที่หนาวเย็น ในป่าเบญจพรรณชื้นใกล้ลำธาร
-
พบมากทางภาคเหนือ เนื่องจากต้องการอากาศที่หนาวเย็น ในป่าเบญจพรรณชื้นใกล้ลำธาร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
MaeHongSon,ChiangMai,ChiangRai,Lampang,NakhonSawan,Loei,NongKhai,
Saraburi,Kanchanaburi,ChonBuri,Ranong,
Satun
-
ลำปาง, นครปฐม, เลย, หนองคาย
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
แพร่,น่าน
-
พะเยา,น่าน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
เทือกเขาห้วยตูน อ.ร้องกวาง แพร่ และ เขาดอยติ้ว อ.ท่าวังผา น่าน
-
อำเภอเชียงคำ อำเภอปง พะเยา, อำเภอสองแคว น่าน
ที่มาของข้อมูล
Checklist of Plants in Thailand Volume I ปี 2557 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
OEPP Biodiversity Series Vol. 11 Pteridophytes in Thailand, 2543
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศภูเขา (Mountain Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น (Dry and Sub-humid Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Ophiorrhiza patula
Acorus tatarinowii
Nephrolepis acutifolia
Dendrobium bensoniae
โกฐจุฬาลัมพา
Artemisia annua
Knema furfuracea
Previous
Next