Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรชีวภาพของประเทศไทย
พื้นที่อนุรักษ์ตามกฎหมายและพื้นที่ OECMs
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Ardea cinerea
Ardea cinerea
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Ardea cinerea
Linnaeus, 1758
Status:
ACCEPTED
ชื่อสามัญ::
-
Grey Heron
-
Gray Heron
ชื่อไทย:
-
นกกระสานวล
-
นกระสานวล
ชื่อท้องถิ่น::
-
นกกระสานวล
-
กูแวะฮีแต
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Aves
อันดับ:
Pelecaniformes
วงศ์::
Ardeidae
สกุล:
Ardea
ที่มา :
ศูนย์การเรียนรู้ความหลากหลายทางชีวภาพและความยั่งยืน"ชีวพนาเวศ"
ปรับปรุงล่าสุด :
8 พ.ค. 2568
ที่มา :
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
17 ธ.ค. 2567
ที่มา :
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
12 ธ.ค. 2567
ที่มา :
บริษัท บี.กริม เพาเวอร์ จำกัด (มหาชน)
ปรับปรุงล่าสุด :
4 มิ.ย. 2567
ที่มา :
ศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา มหาราชินี (สถานตากอากาศบางปู)
ปรับปรุงล่าสุด :
5 ก.ค. 2566
ที่มา :
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
ปรับปรุงล่าสุด :
30 มิ.ย. 2566
วันที่อัพเดท :
19 ธ.ค. 2561 15:47 น.
วันที่สร้าง:
19 ธ.ค. 2561 15:47 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
นกขนาดใหญ่มาก (96-120 ช.ม.) ปากยาวตรงและปลายปากแหลม หัวค่อนข้างเล็ก คอยาวมาก ปีกยาวและปลายปีกแหลม หางค่อนข้างสั้น ขายาวมากและนิ้วค่อนข้างยาว ตัวเต็มวัยหัวและคอสีขาว มีแถบคาดตาเป็นขนยาวสีดำ จากตาไปยังท้ายทอยไปจนถึงหงอนขนจะมีสีดำ ด้านล่างลำตัวสีขาว ขนคลุมขนปีกและลำตัว
ด้านบนเป็นสีเทา
-
ขนาด 102 เซนติเมตร ปากตรงเรียวแหลมสีเทาเข้ม ปากล่าง
สีเหลือง หัวสีเทาเข้ม หน้าและคอสีขาว คอด้านหน้ามีลายขีดเส้นสีดำตลอดลำคอ ลำตัวด้านบน สีเทาฟ้า ลำตัวด้านล่าง สีขาวเทา ขายาว แข้งและตีนสีเทา ฤดูผสมพันธุ์ ปากสีส้ม ท้ายทอยมีขนงอกยาวออกมาคล้ายเปีย อกมีขนเส้นเล็กๆ งอกยาวออกมาเป็นพู่ แข้งและตีนสีแดง นกวัยอ่อน หัวสีดำ ขนปกคลุมลำตัวด้านบนสีเทา เสียงร้อง “กว้าก” หรือ “ร้าก”
-
ปากยาวตรงและปลายปากแหลม หัวค่อนข้างเล็ก คอยาวมาก ปีกยาวและปลายปีกแหลม ขาและนิ้วค่อนข้างยาว ตัวเต็มวัยหัวและคอสีขาว มีแถบคาดตาเป็นขนยาวสีดำจากตาไปยังท้ายทอยไปจนถึงหงอนขนจะมีสีดำ ด้านล่างลำตัวสีขาว ขนคลุมขนปีกและลำตัวด้านบนเป็นสีเทา
ระบบนิเวศ :
-
พบตามแหล่งน้ำทั่วไปทั้งน้ำจืดและน้ำทะเล กินสัตว์น้ำต่างๆ เป็นอาหารโดยการยืนจ้องบนพืชลอยน้ำ เมื่อพบเหยื่อจะใช้ปากจิกและกลืนทันที
-
ทุ่งหญ้า นาข้าว แอ่งน้ำขังในพรุ
-
ระบบนิเวศแม่น้ำ หนองน้ำ พื้นที่ชุ่มน้ำ
-
ระบบนิเวศน้ำในแผ่นดิน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
-
อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
-
กระบี่
-
นนทบุรี
-
นนทบุรี
-
กรุงเทพมหานคร
-
กรุงเทพมหานคร
-
เชียงราย
-
ยะลา,ปัตตานี
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
พระนครศรีอยุธยา
การขยายพันธุ์ :
-
ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนมิถุนายน-กันยายน ทำรังตามต้นไม้เป็นกลุ่ม รังเป็นแบบง่ายๆ สร้างหยาบๆ โดยใช้กิ่งไม้แห้งและกิ่งไม้สดมาวางซ้อนทับกัน ไข่สีเขียวแกมน้ำเงิน ในแต่ละรังมีไข่ 3-4 ฟอง ใช้ระยะเวลาฟักไข่ 27-29 วัน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
-
พรุลานควาย
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
-
เชียงราย
-
โรงไฟฟ้าวังน้อย อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
การกระจายพันธุ์ :
-
นกอพยพ
-
พบตามแหล่งน้ำทั่วไปทั้งน้ำจืดและน้ำทะเล
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2560)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
สถานที่
NSM
Samut prakan
NSM
Loei
NSM
Chiang rai
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
สถานที่
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA919981
919981
2
PRJEB40672
757308
3
PRJEB38078
674148
4
PRJNA658323
658323
5
PRJNA607895
607895
6
PRJNA380674
380674
7
PRJNA380521
380521
8
PRJNA269793
269793
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 7 Birds of Bung Boraphet, 2543
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
กรมป่าไม้
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
คู่มือจำแนกชนิดพันธุ์นกน้ำ ในระบบนิเวศพื้นที่ชุ่มน้ำแม่น้ำอิงตอนล่าง, 2566, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
นกในพื้นที่ปกปักทรัพยากรสวนร่มเกล้ากัลปพฤกษ์
บริษัท บี.กริม เพาเวอร์ จำกัด (มหาชน)
บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน นก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในพรุลานควาย, โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรชุมชนและเครือข่ายเพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูพรุลานควายอย่างยั่งยืน, กองบริหารกองทุนสิ่งแวดล้อม, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
IUCN Red List
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
หนวดพราหมณ์
Polynemus paradiseus
Ostorhinchus cookii
Eupterote testacea
Dichrometra palmata
ด้วงเต่าพู่ระหงษ์
Corynodes pyrospilotus
ฉลามหนู
Paragaleus tengi
Previous
Next