Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Phyllanthus urinaria
Phyllanthus urinaria
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Phyllanthus urinaria
L.
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Diasperus urinaria (L.) Kuntze
ชื่อไทย:
-
หญ้าใต้ใบ
ชื่อท้องถิ่น::
-
มะขามป้อมดิน ลูกใต้ใบ(ภาคเหนือ) หมากไข่หลัง(เลย) ไ
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Malpighiales
วงศ์::
Phyllanthaceae
สกุล:
Phyllanthus
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:36 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:36 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
พืชล้มลุก สูงถึง 60 ซม. ลำต้นและกิ่งเกลี้ยง มีลักษณะแบนและมีปีกเล็กน้อย หูใบ รูปไข่แกมรูปใบหอก หรือรูปสามเหลี่ยม ใบเดี่ยว รูปขอบขนาน หรือรูปไข่แกมรูปขอบขนาน กว้าง 2-7 ยาว 8-18 มม. ก้านใบยาว 0.3-0.9 มม. โคนใบเบี้ยว ขอบใบมีขนเล็กน้อย ปลายใบมน หรือเป็นติ่งหนามสั้น ดอกแยกเพศ ดอกเพศผู้เป็นช่อกระจุกกลม 5-7 ดอกย่อย กลีบเลี้ยง 6 กลีบ รูปรี หรือรูปขอบขนานแกมรูปไข่ กว้าง 0.3-1.2 ยาว 0.2-0.6 มม. เกสรเพศผู้ 3 อัน ดอกเพศเมียออกเดี่ยว มีขนาดใหญ่กว่าดอกตัวผู้เล็กน้อย ผล แบบผลแห้งแตก ก้านยาว 0.5-0.8 มม. รูปร่างค่อนข้างกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-4 มม. ผิวมีปุ่ม เมล็ด มีลักษณะสามมุม กว้าง 1 ยาว 1.5 มม.
-
พืชล้มลุก สูงถึง 60 ซม. ลำต้นและกิ่งเกลี้ยง มีลักษณะแบนและมีปีกเล็กน้อย หูใบ รูปไข่แกมรูปใบหอก หรือรูปสามเหลี่ยม ใบเดี่ยว รูปขอบขนาน หรือรูปไข่แกมรูปขอบขนาน กว้าง 2-7 ยาว 8-18 มม. ก้านใบยาว 0.3-0.9 มม. โคนใบเบี้ยว ขอบใบมีขนเล็กน้อย ปลายใบมน หรือเป็นติ่งหนามสั้น ดอกแยกเพศ ดอกเพศผู้เป็นช่อกระจุกกลม 5-7 ดอกย่อย กลีบเลี้ยง 6 กลีบ รูปรี หรือรูปขอบขนานแกมรูปไข่ กว้าง 0.3-1.2 ยาว 0.2-0.6 มม. เกสรเพศผู้ 3 อัน ดอกเพศเมียออกเดี่ยว มีขนาดใหญ่กว่าดอกตัวผู้เล็กน้อย ผล แบบผลแห้งแตก ก้านยาว 0.5-0.8 มม. รูปร่างค่อนข้างกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-4 มม. ผิวมีปุ่ม เมล็ด มีลักษณะสามมุม กว้าง 1 ยาว 1.5 มม.
การกระจายพันธุ์ :
-
มีการกระจายทั่วไปในเขตร้อนชื้นของโลก พบทั่วไปในพื้นที่เปิด พบตั้งแต่ระดับ 30-1100 ม. จากระดับน้ำทะเล
-
มีการกระจายทั่วไปในเขตร้อนชื้นของโลก พบทั่วไปในพื้นที่เปิด พบตั้งแต่ระดับ 30-1100 ม. จากระดับน้ำทะเล
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุมน้ำปากแม่น้ำกระบี่
ที่มาของข้อมูล
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Solanum roxburgii
Cyperus ohwii
แห้วไทย
Cyperus esculentus
Hymenophyllum serrulatum
ไอ้แกรก
Gynotroches axillaries
Phyllanthus harmandii
Previous
Next