Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Phoenix acaulis
Phoenix acaulis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Phoenix acaulis
Roxb.
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Phoenix acaulis var. melanocarpa Griff.
ชื่อสามัญ::
-
Stemless date palm
ชื่อไทย:
-
เป้ง
ชื่อท้องถิ่น::
-
ตุหลุโคดือ หน่อไคว้เส่ เป้งบก ปุ่มเป้ง
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Arecales
วงศ์::
Arecaceae
สกุล:
Phoenix
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
4 ก.ค. 2566
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
4 ก.ค. 2566
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:22 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:22 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ปาล์ม สูง 1-2 เมตร ลำต้นแข็ง ขนาดผ่าศูนย์กลาง 15-25 ซม. ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ยาว 60-180 ซม. ก้านใบยาวประมาณ 30 ซม. มีหนามที่ด้านบน ส่วนโคนเป็นกาบหุ้มลำต้น ใบย่อยแข็ง รูปใบหอกแกมยาว แผ่นใบห่อเป็นสามเหลี่ยม ปลายใบแหลมคล้ายเข็ม ดอกสีขาวครีม ต่างเพศอยู่ต่างต้นกัน ออกเป็นช่อสั้น แน่น ใกล้ส่วนโคน ขนาด 15-25 ซม. ช่อดอกมีกาบรูปกระทงขนาดใหญ่รองรับ ดอกย่อยอัดกันแน่น ดอกเพศเมีย รูปถ้วยปลายแยกเป็น 3 แฉก ดอกเพศผู้รูปทรงกลม ปลายแยกเป็น 6 แฉก ดอกย่อยขนาด 2-4 ซม. ผลรูปไข่แกมขอบขนาน มีร่องตื้นๆ ตามยาว ขนาด 0.6-0.8 ซม. มีเนื้อหุ้มบางๆ ด้านนอก เมื่อสุกสีแดงถึงดำ ภายในมีเมล็ดเดียว
-
ปาล์ม สูง 1-2 เมตร ลำต้นแข็ง ขนาดผ่าศูนย์กลาง 15-25 ซม. ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ยาว 60-180 ซม. ก้านใบยาวประมาณ 30 ซม. มีหนามที่ด้านบน ส่วนโคนเป็นกาบหุ้มลำต้น ใบย่อยแข็ง รูปใบหอกแกมยาว แผ่นใบห่อเป็นสามเหลี่ยม ปลายใบแหลมคล้ายเข็ม ดอกสีขาวครีม ต่างเพศอยู่ต่างต้นกัน ออกเป็นช่อสั้น แน่น ใกล้ส่วนโคน ขนาด 15-25 ซม. ช่อดอกมีกาบรูปกระทงขนาดใหญ่รองรับ ดอกย่อยอัดกันแน่น ดอกเพศเมีย รูปถ้วยปลายแยกเป็น 3 แฉก ดอกเพศผู้รูปทรงกลม ปลายแยกเป็น 6 แฉก ดอกย่อยขนาด 2-4 ซม. ผลรูปไข่แกมขอบขนาน มีร่องตื้นๆ ตามยาว ขนาด 0.6-0.8 ซม. มีเนื้อหุ้มบางๆ ด้านนอก เมื่อสุกสีแดงถึงดำ ภายในมีเมล็ดเดียว
การกระจายพันธุ์ :
-
พบขึ้นกระจายในตอนเหนือของอินเดีย พม่า และภาคตะวันตกของประเทศไทย พบตามป่าโปร่งที่เปิด ที่ความสูง 300-600 ม. จากระดับน้ำทะเล
-
พบขึ้นกระจายในตอนเหนือของอินเดีย พม่า และภาคตะวันตกของประเทศไทย พบตามป่าโปร่งที่เปิด ที่ความสูง 300-600 ม. จากระดับน้ำทะเล
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
พะเยา,น่าน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
อำเภอเชียงคำ อำเภอปง พะเยา, อำเภอสองแคว น่าน
ระบบนิเวศ
ที่มาของข้อมูล
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น (Dry and Sub-humid Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Adiantum capillus-junonis
Alocasia hypnosa
Dalbergia foliosa
เกาลัด
Sterculia monosperma
กระทิง
Labiatae
Paraboea takensis
Previous
Next