Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Phlogacanthus curviflorus
Phlogacanthus curviflorus
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Phlogacanthus curviflorus
Nees
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Phlogacanthus curviflorus var. brevicalyx C.B.Clarke
ชื่อไทย:
-
ห้อมช้าง
ชื่อท้องถิ่น::
-
-
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Lamiales
วงศ์::
Acanthaceae
สกุล:
Phlogacanthus
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:23 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:23 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่ม สูง 1-2 ม. ลำต้นกลวง ใบเป็นใบเดี่ยว ออกตรงข้ามเป็นคู่ รูปรีแกมกว้าง ขนาดกว้าง 12 ซม. ยาว 30 ซม. ก้านใบยาว 5-6 ซม. ดอกสีส้มแดงหรือแดงอิฐ ออกเป็นช่อตั้งที่ปลายยอด มีดอกจำนวนมาก กลีบรองดอกโคนเชื่อมติดกัน สีเขียวซีด มีขนนุ่ม กลีบดอกเป็นหลอดโค้ง ยาว 5-6 ซม. ด้านนอกมีขนแน่น ปลายแยกเป็น 5 แฉก กลีบโค้งออกด้านนอก เกสรผู้ 2 อัน ผลเป็นผลแห้ง รูปร่างรียาว มีสันสี่เหลี่ยมมน ขนาดกว้าง 0.6 ซม. ยาว 3.5 ซม. มี 12-14 เมล็ด
-
ไม้พุ่ม สูง 1-2 ม. ลำต้นกลวง ใบเป็นใบเดี่ยว ออกตรงข้ามเป็นคู่ รูปรีแกมกว้าง ขนาดกว้าง 12 ซม. ยาว 30 ซม. ก้านใบยาว 5-6 ซม. ดอกสีส้มแดงหรือแดงอิฐ ออกเป็นช่อตั้งที่ปลายยอด มีดอกจำนวนมาก กลีบรองดอกโคนเชื่อมติดกัน สีเขียวซีด มีขนนุ่ม กลีบดอกเป็นหลอดโค้ง ยาว 5-6 ซม. ด้านนอกมีขนแน่น ปลายแยกเป็น 5 แฉก กลีบโค้งออกด้านนอก เกสรผู้ 2 อัน ผลเป็นผลแห้ง รูปร่างรียาว มีสันสี่เหลี่ยมมน ขนาดกว้าง 0.6 ซม. ยาว 3.5 ซม. มี 12-14 เมล็ด
การกระจายพันธุ์ :
-
พบตั้งแต่อินเดียถึงตอนเหนือของประเทศไทย โดยเฉพาะตามริมธารหรือที่ชื้นในป่าดงดิบ ที่ระดับความสูง 500-1,200 ม.
-
พบตั้งแต่อินเดียถึงตอนเหนือของประเทศไทย โดยเฉพาะตามริมธารหรือที่ชื้นในป่าดงดิบ ที่ระดับความสูง 500-1,200 ม.
ที่มาของข้อมูล
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Ceramium mazatlanense
Argyreia siamensis
ผักฮ้วน
Dregea volubilis
หอยเต้าปูน
Conus otohimae
Besa leptophylla
Inula dalzellii
Previous
Next