Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Phanera sirindhorniae
Phanera sirindhorniae
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Phanera sirindhorniae
(K. Larsen & S. S. Larsen) Mackinder & R. Clark
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Bauhinia sirindhorniae K.Larsen & S.S.Larsen
ชื่อไทย::
-
สิรินธรวัลลี
ชื่อท้องถิ่น::
-
สามสิบสองประดง
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Fabales
วงศ์::
Fabaceae
สกุล:
Phanera
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
1 มี.ค. 2567
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
7 ต.ค. 2562
ที่มา :
ราชันย์ ภู่มา: สำนักงานหอพรรณไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ปรับปรุงล่าสุด :
8 ส.ค. 2562
ที่มา :
ราชันย์ ภู่มา: สำนักงานหอพรรณไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ปรับปรุงล่าสุด :
8 ส.ค. 2562
วันที่อัพเดท :
11 ต.ค. 2561 00:00 น.
วันที่สร้าง:
11 ต.ค. 2561 00:00 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้เถาเนื้อแข็ง กิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาลแดง ใบรูปไข่ ยาว 5-18 เซนติเมตร ดอกสีส้มอมชมพู เป็นพืชถิ่นเดียวของไทย พบขึ้นตามชายป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรังทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ที่จังหวัดหนองคาย นครพนม (ภูลังกา) และสกลนคร (ภูพาน)
-
ไม้เถาเนื้อแข็ง กิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาลแดง ใบรูปไข่ ยาว 5-18 เซนติเมตร ดอกสีส้มอมชมพู เป็นพืชถิ่นเดียวของไทย พบขึ้นตามชายป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรังทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ที่จังหวัดหนองคาย นครพนม (ภูลังกา) และสกลนคร (ภูพาน)
-
ไม้เถาเนื้อแข็ง กิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาลแดง ใบรูปไข่ ยาว 5-18 เซนติเมตร ดอกสีส้มอมชมพู เป็นพืชถิ่นเดียวของไทย พบขึ้นตามชายป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรังทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ที่จังหวัดหนองคาย นครพนม (ภูลังกา) และสกลนคร (ภูพาน)
-
ไม้เถาเนื้อแข็ง กิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาลแดง ใบรูปไข่ ยาว 5-18 เซนติเมตร ดอกสีส้มอมชมพู เป็นพืชถิ่นเดียวของไทย พบขึ้นตามชายป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรังทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ที่จังหวัดหนองคาย นครพนม (ภูลังกา) และสกลนคร (ภูพาน)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้เถาเนื้อแข็ง มือจับม้วนงอ มีขนสีน้ำตาลแดงหนาแน่นตามกิ่งอ่อน ช่อดอก ใบประดับ ฐานดอก กลีบเลี้ยงและกลีบดอกด้านนอก รังไข่ ก้านเกสรเพศเมีย และผล ใบรูปไข่กว้าง ยาว 5-18 ซม. ปลายแฉกตื้น ๆ แผ่นใบหนา เส้นใบ 9-11 เส้น ก้านใบยาว 2-6.5 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ แกนช่อยาวได้ถึง 10 ซม. ก้านดอกยาว 1.5-2 ซม. ตาดอกรูปรี ปลายแหลม ใบประดับรูปใบหอก ยาวประมาณ 5 มม. ฐานดอกเรียวแคบ ยาว 1-1.5 ซม. มีริ้ว กลีบเลี้ยงยาวประมาณ 1 ซม. ปลายแยกเป็น 5 แฉกตื้น ๆ แยกจรดโคนด้านเดียว กลีบดอกรูปใบหอก ยาว 1-1.3 ซม. รวมก้านกลีบสั้น ๆ ก้านชูอับเรณูและอับเรณูเกลี้ยง เกสรเพศผู้ที่สมบูรณ์ส่วนมากมี 3 อัน ที่เป็นหมัน 2 อันเป็นติ่งขนาดเล็ก รังไข่ยาว 0.7-1 ซม. มีก้านสั้น ๆ ก้านเกสรเพศเมียยาว 0.7-1 ซม. ฝักรูปใบหอก แบน ยาว 15-18 ซม. ปลายมีติ่งแหลม มี 5-7 เมล็ด แบน เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2 ซม.
-
ไม้เถาเนื้อแข็ง มือจับม้วนงอ มีขนสีน้ำตาลแดงหนาแน่นตามกิ่งอ่อน ช่อดอก ใบประดับ ฐานดอก กลีบเลี้ยงและกลีบดอกด้านนอก รังไข่ ก้านเกสรเพศเมีย และผล ใบรูปไข่กว้าง ยาว 5–18 ซม. ปลายแฉกตื้น ๆ แผ่นใบหนา เส้นใบ 9–11 เส้น ก้านใบยาว 2–6.5 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ แกนช่อยาวได้ถึง 10 ซม. ก้านดอกยาว 1.5–2 ซม. ตาดอกรูปรี ปลายแหลม ใบประดับรูปใบหอก ยาวประมาณ 5 มม. ฐานดอกเรียวแคบ ยาว 1–1.5 ซม. มีริ้ว กลีบเลี้ยงยาวประมาณ 1 ซม. ปลายแยกเป็น 5 แฉกตื้น ๆ แยกจรดโคนด้านเดียว กลีบดอกรูปใบหอก ยาว 1–1.3 ซม. รวมก้านกลีบสั้น ๆ ก้านชูอับเรณูและอับเรณูเกลี้ยง เกสรเพศผู้ที่สมบูรณ์ส่วนมากมี 3 อัน ที่เป็นหมัน 2 อันเป็นติ่งขนาดเล็ก รังไข่ยาว 0.7–1 ซม. มีก้านสั้น ๆ ก้านเกสรเพศเมียยาว 0.7–1 ซม. ฝักรูปใบหอก แบน ยาว 15–18 ซม. ปลายมีติ่งแหลม มี 5–7 เมล็ด แบน เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5–2 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ แสลงพัน, สกุล)
ระบบนิเวศ :
-
ป่าดิบแล้ง
การกระจายพันธุ์ :
-
พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนที่หนองคาย บึงกาฬ นครพนม สกลนคร ขึ้นตามชายป่าดิบแล้ง ความสูง 150-200 เมตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
นครพนม,สกลนคร,หนองคาย
-
หนองคาย
การขยายพันธุ์ :
-
ตอนกิ่งและเพาะเมล็ด
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ป่าดงดิบกะลา ป่าภูสิงห์ และป่าดงสีชมพู หนองคาย
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
สมุนไพร,รากและลำต้น รักษาฝี หนอง
ที่มาของข้อมูล
กรมป่าไม้
กลุ่มงานพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
สำนักงานหอพรรณไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หนังสือพรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Rourea prainiana
Diplazium muricatum
Panicum elegantissimum
Davallia perdurans
Ahnfeltiopsis serenei
ละมุด
Manilkaro zapota
Previous
Next