Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Phalacrocorax fuscicollis
Phalacrocorax fuscicollis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Phalacrocorax fuscicollis
Stephens, 1826
Status:
ACCEPTED
ชื่อสามัญ::
-
Indian Cormorant
ชื่อไทย:
-
นกกาน้ำปากยาว
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Aves
อันดับ:
Suliformes
วงศ์::
Phalacrocoracidae
สกุล:
Phalacrocorax
ที่มา :
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
ปรับปรุงล่าสุด :
30 มิ.ย. 2566
วันที่อัพเดท :
19 ธ.ค. 2561 16:22 น.
วันที่สร้าง:
19 ธ.ค. 2561 16:22 น.
ข้อมูลทั่วไป
ระบบนิเวศ :
-
freshwater wetlands.
-
พบตามแหล่งน้ำต่างๆ ทั้งน้ำจืดและน้ำทะเล อาหารของนกกาน้ำปากยาว ได้แก่ ปลาต่างๆ รวมทั้งสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก และแมลงต่างๆ วิธีหาอาหารจะว่ายน้ำและดำน้ำ ใช้ปากจับเหยื่อ เมื่อได้เหยื่อแล้วจะโผล่ขึ้นมาเหนือน้ำแล้วกลืนเหยื่อ
-
ผิวน้ำเปิด นกประจำถิ่น
การกระจายพันธุ์ :
-
Indo-Chinese
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Uncommon local resident in C and NE.
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
นกขนาดกลางถึงใหญ่ (64 ซม.) ปากค่อนข้างยาว ปลายเป็นขอเล็กน้อย ปากสีเทา-ดำ ถุงโต้คางสีเหลือง มีแถบสีขาวคั่นระหว่างถุงโต้คางและคอ ในฤดูผสมพันธุ์ถุงโต้คางจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้มไม่มีแถบสีขาวคั่นระหว่างถุงโต้คางและคอ แต่จะมีแถบสีขาวที่ด้านข้างของหัวและบริเวณท้ายตาชัดเจน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
-
พื้นที่ชุ่มน้ำบึงราชนก/พิษณุโลก
-
ฉะเชิงเทรา
-
นนทบุรี
-
กรุงเทพมหานคร
-
กรุงเทพมหานคร
การขยายพันธุ์ :
-
ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนกรกฎาคม-พฤศจิกายน ทำรังตามกิ่งก้านของต้นไม้ต่างๆ ทำรังแบบง่ายๆ เพียงใช้วัสดุ เช่น กิ่งไม้ ใบหญ้าและต้นข้าวสานกัน บริเวณง่ามไม้ แต่ละรังมีไข่ 3-5 ฟอง ไข่สีขาว ใช้เวลาในการฟักไข่ 24-28 วัน
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2018)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (ONEP, 2560)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2018)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (ONEP, 2560)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
THNHM-B-01264
NSM
Nakhon pathom
THNHM-B-01265
NSM
-
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 7 Birds of Bung Boraphet, 2543
ONEP Biodiversity Series Vol. 15 : Thailand Red Data : Birds
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
บริษัท บี.กริม เพาเวอร์ จำกัด (มหาชน)
บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
IUCN Red List
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Diomea eupsema
Choeroichthys brachysoma
Echinolittorina australis
Platycephalus pristiger
เป็ดแดง
Dendrocygna javanica
Poritia philota
Previous
Next