Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Persea kurzii
Persea kurzii
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Persea kurzii
(King ex Hook.fil.) Kosterm.
Status:
SYNONYM
ชื่อสามัญ::
-
-
ชื่อไทย::
-
ยางบง
ชื่อท้องถิ่น::
-
ยางบง
-
บงปง มง หมี ยางบง
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Laurales
วงศ์::
Lauraceae
สกุล:
Machilus
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:16 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:16 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ลำต้น: สูง 10–15 ม. ใบ: ใบมีขนาดกลางเป็นรูปไข่โคนเรียวปลายใบแหลม ผลิออกจากกิ่งสลับกัน เนื้อใบหนา แสดงลักษณะอุ้มน้ำมาก มีเส้นใบ 7 – 11 คู่ ดอก: ดอกเป็นช่อ ออกที่ปลายกิ่ง ผล: กลมเล็กคล้ายผลหว้า มีเยื่อหุ้มผล เมล็ดมีเมล็ดเดี่ยว
-
ไม้ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ความสูงประมาณ 10 – 15 เมตร ใบมีขนาดกลางเป็นรูปไข่โคนเรียวปลายใบแหลม ผลิออกจากกิ่งสลับกัน เนื้อใบหนา แสดงลักษณะอุ้มน้ำมาก มีเส้นใบ 7 – 11 คู่ ดอกเป็นช่อ ออกที่ปลายกิ่งผล กลมเล็กคล้ายผลหว้า มีเยื่อหุ้มผล เมล็ดมีเมล็ดเดี่ยว
-
ไม้ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ความสูงประมาณ 10 – 15 เมตร ใบมีขนาดกลางเป็นรูปไข่โคนเรียวปลายใบแหลม ผลิออกจากกิ่งสลับกัน เนื้อใบหนา แสดงลักษณะอุ้มน้ำมาก มีเส้นใบ 7 – 11 คู่ ดอกเป็นช่อ ออกที่ปลายกิ่งผล กลมเล็กคล้ายผลหว้า มีเยื่อหุ้มผล เมล็ดมีเมล็ดเดี่ยว
ระบบนิเวศ :
-
พบขึ้นอยู่ในป่าดิบแล้ง ป่าเต็งรังเป็นไม้ที่ไม่ผลัดใบ
การกระจายพันธุ์ :
-
พบขึ้นอยู่ในป่าดิบแล้ง ป่าเต็งรังเป็นไม้ที่ไม่ผลัดใบ มีมากในบางจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือโดยเฉพาะในแถบที่มีฝนตกชุกมากๆ แถบจังหวัดมุกดาหาร นครพนม อุบลราชธานี และบางท้องที่ในภาคเหนือ
-
พบขึ้นอยู่ในป่าดิบแล้ง ป่าเต็งรังเป็นไม้ที่ไม่ผลัดใบ มีมากในบางจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือโดยเฉพาะในแถบที่มีฝนตกชุกมากๆ แถบจังหวัดมุกดาหาร นครพนม อุบลราชธานี และบางท้องที่ในภาคเหนือ
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
พิษณุโลก
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
อุดรธานี, เลย, หนองคาย
-
สกลนคร, กาฬสินธุ์
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
แพร่, อุตรดิตถ์
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ถ้ำผาท่าพล
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ นายูง-น้ำโสม
-
อุทยานแห่งชาติ ภูพาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
ที่มาของข้อมูล
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Polyalthia intermedia
โกฐเขมา
Atractylodes macrocephala
Liparis parviflora
Orthosiphon rotundifolius
Oberonia prainiana
Oldenlandia pinifolia
Previous
Next