Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Pernis ptilorhyncus
Pernis ptilorhyncus
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Pernis ptilorhyncus
(Temminck, 1821)
Status:
SYNONYM
ชื่อสามัญ::
-
Oriental Honey Buzzard
-
Oriental Honey-Buzzard
-
Oriental Honey-buzzard
ชื่อไทย:
-
เหยี่ยวผึ้ง
-
เหยี่ยวกิ้งก่าสีดำ
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Aves
อันดับ:
Accipitriformes
วงศ์::
Accipitridae
สกุล:
Pernis
ปีที่ตีพิมพ์:
2007
วันที่อัพเดท :
2 มิ.ย. 2564 11:52 น.
วันที่สร้าง:
2 มิ.ย. 2564 11:52 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
แตกต่างจากเหยี่ยวขนาดใหญ่อื่นๆ ที่ปากเรียวเล็ก หัวเล็ก คอค่อนข้างยาว ท้ายทอยมีหงอนสั้นๆ หางยาวปลายมน สีและลวดลายเปลี่ยนแปลงได้หลายแบบ ชนิดย่อยอพยพ orientalis หงอนสั้นมาก ชนิดย่อยประจำถิ่น ruficollis บางตัวหงอนที่ท้ายทอยค่อนข้างยาวตัวผู้ชุดขนสีจาง ตาสีน้ำตาลแดง หางด้านล่างเห็นแถบสีขาวกว้างมาก ปลายดำกว้างกว่าตัวเมีย ส่วนใหญ่หัวและหน้าสีเทา ลำตัวด้านล่างสีขาวแกมน้ำตาล-น้ำตาลแดง คอขาวมีเส้นดำรอบ อาจมีเส้นกลางคอ ขนคลุมใต้ปีกสีน้ำตาลเหลือง-น้ำตาล มีลายตามยาวสีเข้ม ขนปีกบินขาวหรือเท่าปลายปีกและขอบปีกด้านหลังดำกว้างกว่าตัวเมีย มีลายตามยาวที่ขนปีกบิน
ด้านใน 2 แถบ เพศเมียชุดขนสีจางมี ตาสีเหลือง แถบขาวใต้หางแคบกว่า เห็นเป็นแถบดำ 4 แถบ แถบปลายหางและแถบขอบปีกด้านหลังแคบกว่าตัวผู้ นกชุดขนสีเข้ม ขนลำตัวและขนคลุมใต้ปีกน้ำตาลเข้ม คออาจมีสีอ่อน นกวัยอ่อน มักมีหัว ลำตัวด้านล่าง สีจางออกขาว ลายใต้ปีก
จางกว่า และลายใต้หางมี 3-4 แถบ
ระบบนิเวศ :
-
ป่าดิบ ป่าโปร่ง
-
ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
-
ระบบนิเวศเกาะ
-
ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
-
ระบบนิเวศป่าไม้
-
ระบบนิเวศภูเขา
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อุบลราชธานี, อุทยานแห่งชาติมุกดาหาร (ภูผาเติบ)
-
ลำพูน
-
สุราษฏร์ธานี
-
มุกดาหาร
-
พะเยา
-
น่าน
-
กำแพงเพชร
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
พะเยา
-
เชียงใหม่
-
นนทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ลุ่มน้ำปิง, แม่น้ำปิง
-
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะอ่างทอง
-
ภูผาเทิบ
-
บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
-
บ้านดอยติ้ว ตำบลศรีภูมิ อำเภอท่าวังผา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
THNHM-B-01176
NSM
-
THNHM-B-01177
NSM
-
THNHM-B-01178
NSM
Phuket
THNHM-B-01179
NSM
-
THNHM-B-05630
NSM
Chon buri
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA831258
831258
2
PRJNA831257
831257
3
PRJNA831256
831256
4
PRJNA818511
818511
5
PRJNA754286
754286
6
PRJNA616023
616023
7
PRJNA431699
431699
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 18 Birds of Dry and Semi-Humid Ecosystem, 2550
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศภูเขา (Mountain Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 6 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกาะ, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Lotoria perryi
Pseudosciaena plagiostoma
จิ้งจกนิ้วยาวปิยวรรณ
Cnemaspis niyomwanae
นกกะรางแก้มแดง
Liocichla ripponi
Calloplesiops altivelis
ผีเสื้อใบไม้ใหญ่
Kallima knyvetti
Previous
Next