Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Pericrocotus speciosus
Pericrocotus speciosus
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Pericrocotus speciosus
(Latham, 1790)
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Turdus speciosus Latham, 1790
ชื่อสามัญ::
-
Scarlet Minivet
-
Scarlet Minivet
ชื่อไทย:
-
นกพญาไฟใหญ่
ชื่อท้องถิ่น::
-
นกพญาไฟใหญ่
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Aves
อันดับ:
Passeriformes
วงศ์::
Campephagidae
สกุล:
Pericrocotus
ที่มา :
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
ปรับปรุงล่าสุด :
3 ก.ค. 2566
วันที่อัพเดท :
19 ธ.ค. 2561 16:03 น.
วันที่สร้าง:
19 ธ.ค. 2561 16:03 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
นก
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ขนาดใหญ่และลำตัวหนากว่านกพญาไฟชนิดอื่น ตัวผู้ : หัว คอ หลัง ปีก และหางดำเป็นมัน ลำตัวด้านล่าง แถบปีก ตะโพก และขอบหางแดงเข้ม แถบปีกใหญ่กว่านกพญาไฟแม่สะเรียงและมีจุดแดงแยกออกมา ตัวเมีย : หน้าผาก ลำตัวด้านล่างแถบปีก ตะโพก และขอบหางเหลืองสด ตำแหน่งแถบปีกเหมือนตัวผู้ นกวัยอ่อน : คล้ายตัวเมียแต่ส่วนสีเหลืองเป็นสีส้มหรือมีขนแดงแซม
ระบบนิเวศ :
-
ป่าดิบ ป่าโปร่ง ที่ราบถึงความสูง 1,700 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
อุตรดิตถ์
-
พิษณุโลก
-
สุราษฎร์ธานี, ระนอง
-
สุราษฎร์ธานี
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
-
ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2560)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2560)
ที่มาของข้อมูล
กรมป่าไม้
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด
สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
ต่อแดง
Rhynchium quiquecinctum
ปูหัวหิน
Demanietta huahin
Megalaspis cordyla
เบี้ยแก้ใหญ่ เบี้ยอีแก่ เบี้ยโพล้ง เบี้ยฟันเล็ก
Mauritia mauritiana
Lobophyllia corymbosa
Metapenaeus anchistus
Previous
Next