Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Pentanema indicum
Pentanema indicum
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Pentanema indicum
(L.) Ling
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย:
-
ดาวกระจายน้อย
ชื่อท้องถิ่น::
-
-
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Asterales
วงศ์::
Asteraceae
สกุล:
Vicoa
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:29 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:29 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ล้มลุก ลำต้นตรง สูง 0.8-1.5 เมตร ใบ เดี่ยว รูปแถบแกม ขอบขนาน กว้าง 4-22 มม. ยาว 10-70 มม. ผิวใบทั้งสองด้าน มีขนสากคายปกคลุม ก้านใบสั้นมาก ปลายใบแหลม โคนใบเว้า คล้ายรูปหัวใจ ดอก สีเหลือง ออกเป็นช่อที่ซอกใบ หรือ ปลายยอด ยาว 7-20 ซม. ดอกบานขนาด 1-1.5 ซม. กลีบรองดอกรูปเรียวยาว ปลายแหลม ขนาด 3-5 มม. กลีบดอกมี 2 แบบ ส่วนที่เรียงอยู่วงนอก รูปขอบขนาน ปลายกลีบเป็นแฉกสั้นๆ ยาว 5-8 มม. ส่วนตรงกลาง อัดกันแน่น รูปทรงกระบอก ยาว 3-5 มม. ผล เป็นผลแห้ง รูปทรงกระบอก ยาว 1 มม. และมีขนสีขาวตรงปลาย ยาว 4 มม.
-
ไม้ล้มลุก ลำต้นตรง สูง 0.8-1.5 เมตร ใบ เดี่ยว รูปแถบแกม ขอบขนาน กว้าง 4-22 มม. ยาว 10-70 มม. ผิวใบทั้งสองด้าน มีขนสากคายปกคลุม ก้านใบสั้นมาก ปลายใบแหลม โคนใบเว้า คล้ายรูปหัวใจ ดอก สีเหลือง ออกเป็นช่อที่ซอกใบ หรือ ปลายยอด ยาว 7-20 ซม. ดอกบานขนาด 1-1.5 ซม. กลีบรองดอกรูปเรียวยาว ปลายแหลม ขนาด 3-5 มม. กลีบดอกมี 2 แบบ ส่วนที่เรียงอยู่วงนอก รูปขอบขนาน ปลายกลีบเป็นแฉกสั้นๆ ยาว 5-8 มม. ส่วนตรงกลาง อัดกันแน่น รูปทรงกระบอก ยาว 3-5 มม. ผล เป็นผลแห้ง รูปทรงกระบอก ยาว 1 มม. และมีขนสีขาวตรงปลาย ยาว 4 มม.
การกระจายพันธุ์ :
-
อินเดียถึงเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ประเทศไทยพบทั่วไปตามป่าเต็งรังทางภาคเหนือ ออกดอก ระหว่างเดือนธันวาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์
-
อินเดียถึงเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ประเทศไทยพบทั่วไปตามป่าเต็งรังทางภาคเหนือ ออกดอก ระหว่างเดือนธันวาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์
ที่มาของข้อมูล
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Sunipia minor
โสนน้อย
Chamaecrista mimosoides
Ipomoea muricata
Trachypus bicolor
Lithocarpus polystachyus
Microchloa kunthii
Previous
Next