Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Pelatantheria ctenoglossa
Pelatantheria ctenoglossa
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Pecteilis hawkesiana
(King & Pantl.) C.S.Kumar
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Cleisostoma lophochilum (Gagnep.) Garay
- Sarcanthus lophochilus Gagnep.
ชื่อไทย::
-
เคราสิงห์แก้มลาย
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Asparagales
วงศ์::
Orchidaceae
สกุล:
Pelatantheria
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:34 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:34 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
กล้วยไม้อิงอาศัย ยาวได้ถึง 20 ซม. ใบ รูปรีแกมขอบขนาน หนา และแข็ง กว้าง 1-1.5 ซม. ยาว 3-5 ซม. ดอก ออกเป็นช่อสั้น จากซอกใบ มี 1-3 ดอก ขนาดบานเต็มที่กว้าง 1.2 ซม. กลีบเลี้ยงรูปไข่ สีเหลืองอ่อนแกมน้ำตาล มีลายเส้นสีน้ำตาลแดงตามยาว กลีบดอกรูปรี สีอ่อนกว่า กลีบปากสีขาว กลางกลีบเป็นตุ่มสีเหลืองเข้ม ปลายกลีบดอก เรียวแหลมคล้ายเป็นรยางค์ยื่นออกมา บริเวณขอบจักเป็นเส้นเล็กๆ
-
กล้วยไม้อิงอาศัย ยาวได้ถึง 20 ซม. ใบ รูปรีแกมขอบขนาน หนา และแข็ง กว้าง 1-1.5 ซม. ยาว 3-5 ซม. ดอก ออกเป็นช่อสั้น จากซอกใบ มี 1-3 ดอก ขนาดบานเต็มที่กว้าง 1.2 ซม. กลีบเลี้ยงรูปไข่ สีเหลืองอ่อนแกมน้ำตาล มีลายเส้นสีน้ำตาลแดงตามยาว กลีบดอกรูปรี สีอ่อนกว่า กลีบปากสีขาว กลางกลีบเป็นตุ่มสีเหลืองเข้ม ปลายกลีบดอก เรียวแหลมคล้ายเป็นรยางค์ยื่นออกมา บริเวณขอบจักเป็นเส้นเล็กๆ
การกระจายพันธุ์ :
-
พบขึ้นตามป่าดิบแล้ง ในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบน และภาคตะวันออก ออกดอกช่วงเดือนกันยายน-พฤศจิกายน
-
พบขึ้นตามป่าดิบแล้ง ในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบน และภาคตะวันออก ออกดอกช่วงเดือนกันยายน-พฤศจิกายน
ที่มาของข้อมูล
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Eragrostis atrovirens
Barbula consanguinea
Mitrephora thorelii
Mallotus brevipetiolatus
Dialium maingayi
Olea salicifolia
Previous
Next