Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Pedicularis siamensis
Pedicularis siamensis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Pedicularis siamensis
Tsoong
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย::
-
ชมพูเชียงดาว
ชื่อท้องถิ่น::
-
-
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Lamiales
วงศ์::
Orobanchaceae
สกุล:
Pedicularis
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:25 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:25 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ล้มลุก เป็นพืชเบียนของพืชวงศ์หญ้า สูง 40-60 ซม. ใบเป็นใบเดี่ยว ออกตรงข้ามเป็นคู่ หรือรอบต้นในระนาบเดียวกัน แผ่นใบคล้ายใบเฟิน รูปขอบขนานแกมรูปไข่ มีหยักเว้าลึกเกือบถึงเส้นกลางใบ ขนาดกว้าง 1-2.5 ซม. ยาว 1.5-4.5 ซม. ขอบใบจักเป็นฟันเลื่อย ผิวใบด้านบนมีประขาวด้านล่าง เป็นนวลแป้งขาว ก้านใบสั้น ดอกสีชมพูแกมม่วง ออกเป็นช่อสั้นตรงซอกใบ ดอกยาว 2-4 ซม. ไม่มีก้านดอก กลีบรองดอกห่อเป็นถ้วย กลีบดอกบนเป็นหลอดยาว ตอนปลายเป็นจงอยโค้งแหลม กลีบล่างแผ่กว้างแยกออกเป็น 3 แฉก แผ่นกลางกลมมน แผ่นข้างรูปรี ผลเป็นกระเปาะแข็ง รูปไข่ ขนาด 6-12 มม. มีกลีบรองดอกหุ้มตอนปลายเป็นหยักแหลม
-
ไม้ล้มลุก เป็นพืชเบียนของพืชวงศ์หญ้า สูง 40-60 ซม. ใบเป็นใบเดี่ยว ออกตรงข้ามเป็นคู่ หรือรอบต้นในระนาบเดียวกัน แผ่นใบคล้ายใบเฟิน รูปขอบขนานแกมรูปไข่ มีหยักเว้าลึกเกือบถึงเส้นกลางใบ ขนาดกว้าง 1-2.5 ซม. ยาว 1.5-4.5 ซม. ขอบใบจักเป็นฟันเลื่อย ผิวใบด้านบนมีประขาวด้านล่าง เป็นนวลแป้งขาว ก้านใบสั้น ดอกสีชมพูแกมม่วง ออกเป็นช่อสั้นตรงซอกใบ ดอกยาว 2-4 ซม. ไม่มีก้านดอก กลีบรองดอกห่อเป็นถ้วย กลีบดอกบนเป็นหลอดยาว ตอนปลายเป็นจงอยโค้งแหลม กลีบล่างแผ่กว้างแยกออกเป็น 3 แฉก แผ่นกลางกลมมน แผ่นข้างรูปรี ผลเป็นกระเปาะแข็ง รูปไข่ ขนาด 6-12 มม. มีกลีบรองดอกหุ้มตอนปลายเป็นหยักแหลม
การกระจายพันธุ์ :
-
เป็นพืชเฉพาะถิ่นพบที่ดอยเชียงดาว จ.เชียงใหม่ ขึ้นเป็นกลุ่มแทรกปะปนกับกอหญ้าและไม้พุ่มเตี้ยๆ ที่ระดับความสูง 1,800-2,100 ม. ออกดอกช่วงเดือนธันวาคม-มกราคม
-
N Thailand: Chiang Mai (Doi Chiangdao)
-
เป็นพืชเฉพาะถิ่นพบที่ดอยเชียงดาว จ.เชียงใหม่ ขึ้นเป็นกลุ่มแทรกปะปนกับกอหญ้าและไม้พุ่มเตี้ยๆ ที่ระดับความสูง 1,800-2,100 ม. ออกดอกช่วงเดือนธันวาคม-มกราคม
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ล้มลุก
-
กาฝากล้มลุก
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
Endemic
-
เชียงใหม่
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Upper montane scrub, 1800 − 2100 m.
-
บริเวณเส้นทางสายจอมทองขึ้นสู่ยอดดอยอินทนนท์ บริเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาติบริเวณกิ่วแม่ปาน
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2549)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2549)
ที่มาของข้อมูล
ONEP Biodiversity Series Vol. 17 : Thailand Red Data : Plants (2006)
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Gustavia angusta
Tainia latifolia
Fissistigma rubiginosum
Dalbergia lacei
taxon inquirendum
Aeschynanthus parviflorus
Previous
Next