Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Pateobatis fai
Pateobatis fai
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Pateobatis fai
(Jordan & Seale, 1906)
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Himantura fai Jordan & Seale, 1906
ชื่อสามัญ::
-
Pink Whipray
-
Pink whipray
ชื่อไทย::
-
กระเบนลายดอกไม้
-
กระเบนลายดอกไม้, กระเบนหิน
-
ปลากระเบนลายดอกไม้, ปลากระเบนหิน, ปลากระเบนหางหวายสีชมพู
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Elasmobranchii
อันดับ:
Myliobatiformes
วงศ์::
Dasyatidae
สกุล:
Pateobatis
ที่มา :
ทัศพล กระจ่างดารา และมนตรี สุมณฑา
ปรับปรุงล่าสุด :
13 ก.พ. 2567
วันที่อัพเดท :
23 ก.ค. 2562 00:00 น.
วันที่สร้าง:
23 ก.ค. 2562 00:00 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อ่าวไทย ทะเลอันดามัน
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
- ขนาดความยาว สูงสุด 184 ชม. (TL 500 ชม.) ขนาดทั่วไปที่พบ 70-90 ชม. ขนาดสมบูรณ์เพศของเพศผู้ 108-115 ซม. และขนาดแรกเกิด 18-30 ชม.
- แผ่นลำตัวรูปห้าเหลี่ยมมีความกว้างมากกว่าความยาว จะงอยปากสั้น แถบตุ่มแข็งกลางแผ่นลำตัวแคบ มีตุ่มแข็งเป็นรูปตัววีหรือหัวใจ (อาจไม่ชัดเจนในปลาที่โตเต็มวัย) ส่วนหางเรียวยาว (ยาวมากกว่า 2
เท่าของความกว้างแผ่นลำตัว) มีเงี่ยง 1 อัน ไม่มีแผ่นหนังที่หาง แผ่นลำตัวด้านบนมีสีเทาอ่อนถึงน้ำตาลอมชมพู ในปลาขนาดเล็กมีลายคล้ายดอกไม้บนผิวลำตัว ด้านท้องสีขาว ขอบด้านข้างถึงตอนท้ายเป็นสีดำจางๆ
- มีรายงานข้อมูลชีววิทยาของปลาชนิดนี้น้อยมาก ซึ่งเป็นชนิดที่ออกลูกเป็นตัว ส่วนใหญ่กินปลา และสัตว์หน้าดินขนาดเล็กพวกกุ้งและปูเป็นอาหาร
ระบบนิเวศ :
-
บริเวณพื้นท้องทะเลที่เป็นทรายตามชายฝั่งทะเล จนถึงไหล่ทวีปที่ระดับความลึกน้ำ 200 เมตร (ส่วนใหญ่พบที่ระดับความลึกน้ำไม่เกิน 70 เมตร) อาจพบรวมฝูงตามแนวปะการัง
การกระจายพันธุ์ :
-
ในเขตน่านน้ำไทย พบทั้งทางฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์ :
-
เนื้อนำมาบริโภคได้
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (IUCN, 2016)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2563)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (IUCN, 2016)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2563)
ที่มาของข้อมูล
ปลากระดูกอ่อน (ปลาฉลาม ปลากระเบน และปลาหนู) ที่พบในน่านน้ำไทยและน่านน้ำใกล้เคียง, 2560, กรมประมง
วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา ปีที่ 24 (ฉบับที่ 2) พฤษภาคม - สิงหาคม พ.ศ.2562
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
IUCN Red List
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Amblyeleotris diagonalis
Clistocoeloma suvaense
Hypothenemus seriatus
Luxiaria phyllosaria
ลิงแสม
Macaca fascicularis
Bombus trifasciatus
Previous
Next