Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Pastinachus gracilicaudus
Pastinachus gracilicaudus
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Pastinachus gracilicaudus
Last & Manjaji-Matsumoto, 2010
Status:
ACCEPTED
ชื่อสามัญ::
-
Narrowtail stingray
-
Narrow cowtail ray
-
Narrowtail stingray, narrow cowtail ray
ชื่อไทย:
-
กระเบนธงหางแคบ
-
กระเบนธงหางแคบ, กระเบนธง
-
ปลากระเบนธงหางแคบ, ปลากระเบนธง
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Elasmobranchii
อันดับ:
Myliobatiformes
วงศ์::
Dasyatidae
สกุล:
Pastinachus
ที่มา :
Last and Manjaji-Matsumoto (2010)
ปรับปรุงล่าสุด :
13 ก.พ. 2567
วันที่อัพเดท :
19 ธ.ค. 2561 00:00 น.
วันที่สร้าง:
19 ธ.ค. 2561 00:00 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อ่าวไทย
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
- ขนาดความยาว สูงสุด 83 ซม.(TL> 200 ซม ) ขนาดทั่วไปที่พบ 40-70 ชม. ขนาดสมบูรณ์เพศของเพศผู้ 67 ชม. และขนาดแรกเกิด 19-26 ชม.
- แผ่นลำตัวรูปห้าเหลี่ยมมีความกว้าง 1.1-1.2 เท่าของความยาว จะงอยปากสั้น มีตุ่มแข็งเม็ดกลม 2-3 เม็ดกลางแผ่นลำตัว ไม่มีแถวหนามที่แนวกลางด้านบนโคนหาง หางค่อนข้างยาว (ยาว 1.8-2.6 เท่าของ DW มีเงี่ยง 1 อัน และแผ่นหนังด้านล่างของหางเป็นแผ่นแคบ (2.8-3.6 เท่าของความสูงหางตรงแผ่นที่กว้างสุด) แผ่นลำตัวด้านบนมีสีน้ำตาลเข้ม ด้านท้องสีขาว อาจมีขอบสีดำ
- มีรายงานข้อมูลชีวิวิทยาของปลาชนิดนี้น้อยมาก ซึ่งเป็นชนิดที่ออกลูกเป็นตัว ครั้งละ 2 ตัว ส่วนใหญ่กินปลาขนาดเล็ก กุ้งและปูเป็นอาหาร
ระบบนิเวศ :
-
บริเวณพื้นแหล่งน้ำตามแม่น้ำ ปากแม่น้ำ และชายฝั่งทะเล จนถึงไหล่ทวีป (ส่วนใหญ่พบที่ระดับความลึกน้ำไม่เกิน 100 เมตร)
การกระจายพันธุ์ :
-
ในเขตน่านน้ำไทย พบเฉพาะทางฝั่งอ่าวไทย
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์
-
เนื้อนำมาบริโภค หรือแปรรูปตากแห้ง และผิวหนังใช้ทำเครื่องหนัง
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2560)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2560)
ที่มาของข้อมูล
ปลากระดูกอ่อน (ปลาฉลาม ปลากระเบน และปลาหนู) ที่พบในน่านน้ำไทยและน่านน้ำใกล้เคียง, 2560, กรมประมง
วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา ปีที่ 24 (ฉบับที่ 2) พฤษภาคม - สิงหาคม พ.ศ.2562
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Chelidonium cinctum
Amphidromus dohrni
Isognomon legumen
หนูผีหางยาวฟันแดง
Chodsigoa parca
น้ำฝายแคระ
Parasikukia maculata
นกไต่ไม้สีสวย
Sitta formosa
Previous
Next