Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Pastinachus ater
Pastinachus ater
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Pastinachus ater
(Macleay, 1883)
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Pastinachus atrus (Macleay, 1883)
- Taeniura atra Macleay, 1883
ชื่อสามัญ::
-
Banana-tail Ray
-
Banana-tail ray, broad cowtail ray, fantail ray, f
ชื่อไทย::
-
กระเบนธงหางใบตอง
-
ปลากระเบนธงหางใบตอง, ปลากระเบนธงหางพัด, ปลากระเบนธง
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Elasmobranchii
อันดับ:
Myliobatiformes
วงศ์::
Dasyatidae
สกุล:
Pastinachus
ที่มา :
มนตรี สุมณฑา และทัศพล กระจ่างดารา
ปรับปรุงล่าสุด :
13 ก.พ. 2567
วันที่อัพเดท :
23 ก.ค. 2562 00:00 น.
วันที่สร้าง:
23 ก.ค. 2562 00:00 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
- ขนาดความยาว สูงสุด 200 ซม.(TL> 300 ชม.) ขนาดทั่วไปที่พบ 60-100 ชม. ขนาดสมบูรณ์เพศของเพศผู้ 91-98 ชม. และขนาดแรกเกิด 18 ชม.
- แผ่นลำตัวรูปห้าเหลี่ยมมีความกว้าง 1.2-1.3 เท่าของความยาว จะงอยปากสั้น มีตุ่มแข็งเม็ดกลมใหญ่หรือรูปหัวใจ 2-4 เม็ดกลางแผ่นลำตัว ไม่มีแถวหนามที่แนวกลางด้านบนโคนหาง หางค่อนข้างสั้น (ยาวน้อยกว่าหรือเท่ากับ 2 เท่าของ DW) มีเงี่ยง 1 อัน และแผ่นหนังด้านล่างของหางเป็นแผ่นกว้าง (3.6-5.7 เท่าของความสูงหางตรงแผ่นที่กว้างสุด แผ่นลำตัวด้านบนมีสีน้ำตาลเข้มถึงเทาดำ ด้านท้องสีขาว อาจมีชอบสีดำ
- มีรายงานข้อมูลชีววิทยาของปลาชนิดนี้น้อยมาก ซึ่งเป็นชนิดที่ออกลูกเป็นตัว ครั้งละ 2 ตัว ส่วนใหญ่กินปลา กุ้งและปูเป็นอาหาร
ระบบนิเวศ :
-
บริเวณพื้นท้องทะเลตามชายฝั่งทะเล จนถึงไหล่ทวีปที่ระดับความลึกน้ำมากกว่า 60 เมตร อาจพบตามแนวปะการัง ปากแม่น้ำ และป่าชายเลน สามารถปรับตัวเข้ามาอาศัยในน้ำจืดได้
การกระจายพันธุ์ :
-
ในเขตน่านน้ำไทย พบทั้งทางฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์ :
-
เนื้อนำมาบริโภค หรือแปรรูปตากแห้ง และผิวหนังใช้ทำเครื่องหนัง
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2563)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2563)
ที่มาของข้อมูล
ปลากระดูกอ่อน (ปลาฉลาม ปลากระเบน และปลาหนู) ที่พบในน่านน้ำไทยและน่านน้ำใกล้เคียง, 2560, กรมประมง
วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา ปีที่ 24 (ฉบับที่ 2) พฤษภาคม - สิงหาคม พ.ศ.2562
IUCN Red List
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Parathyma ranga
Laccophilus parvulus
Otolithes rubber
นกเขนน้อยอกเพลิง
Calliope pectardens
Melanochelys trijuga
Barbatia pistachia
Previous
Next