Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Parameria laevigata
Parameria laevigata
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Parameria laevigata
Radlk.
Status:
SYNONYM
ชื่อสามัญ::
-
Khruea khao muak
-
-
ชื่อไทย:
-
เครือเขามวกขาว
-
เครือเขามวก
-
Aegiphila laevigata Juss.
-
เครือซูด
ชื่อท้องถิ่น::
-
เครือเขามวก
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Gentianales
วงศ์::
Apocynaceae
สกุล:
Parameria
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:15 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:15 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้เลื้อย มียางสีขาว ช่อดอกออกที่ปลายยอดและซอกใบ ดอกสีขาวขนาดเล็ก จำนวนมาก โคนเชื่อมกันเป็นหลอดสั้น ปลายแยกเป็น 5 แฉก กลิ่นหอม ผลยาวได้ถึง 27 ซม. มีส่วนคอดระหว่างเมล็ด ออกดอกเดือนกันยายน
-
ไม้เถา
-
ไม้เลื้อย มียางสีขาว ช่อดอกออกที่ปลายยอดและซอกใบ ดอกสีขาวขนาดเล็ก จำนวนมาก โคนเชื่อมกันเป็นหลอดสั้น ปลายแยกเป็น 5 แฉก กลิ่นหอม ผลยาวได้ถึง 27 ซม. มีส่วนคอดระหว่างเมล็ด ออกดอกเดือนกันยายน
-
ม้เถา ใบเรียงตรงข้ามหรือเรียงรอบข้อ 3 ใบ รูปรี รูปไข่ หรือรูปขอบขนาน มีขนหยาบตามซอกเส้นแขนงใบด้านล่างคล้ายตุ่มใบ ช่อดอกแบบช่อกระจุกสั้น ๆ แยกแขนง ออกที่ปลายกิ่งหรือกิ่ง ยาวได้ถึง 15 ซม. ใบประดับขนาดเล็ก กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปไข่ ยาวประมาณ 1 มม. มีเกล็ดที่โคน ดอกรูปดอกเข็ม สีขาวหรืออมชมพู กลีบเรียงซ้อนทับด้านซ้ายในตาดอก หลอดกลีบดอกยาวประมาณ 2 มม. มี 5 กลีบ รูปรี เบี้ยวเล็กน้อย ยาว 2-4 มม. เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดใกล้โคนหลอดกลีบดอก ก้านชูอับเรณูสั้น อับเรณูรูปเงี่ยงลูกศร ปลายเรียวแนบติดปลายเกสรเพศเมีย จานฐานดอกจัก 5 พู มี 2 คาร์เพล แนบติดกันเรียวยาวเป็นก้านเกสรเพศเมีย ผลเป็นฝักคู่ ยาว 12-27 ซม. คอดตามเมล็ด เมล็ดจำนวนมาก เรียว ยาวประมาณ 1 ซม. ปลายมีกระจุกขน ยาวประมาณ 3 มม.
การกระจายพันธุ์ :
-
พบบริเวณที่ค่อนข้างชื้น
-
พบบริเวณที่ค่อนข้างชื้น
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้เถา
ระบบนิเวศ :
-
ขึ้นตามชายป่าหรือในป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 900 เมตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
พื้นที่ลุ่มน้ำลำเซบาย
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ยโสธร,อำนาจเจริญ,อุบลราชธานี
ที่มาของข้อมูล
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
ป่าทามลำเซบาย, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สมาคมภูมินิเวศพัฒนาอย่างยั่งยืน, 2559
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Coreopsis tinctoria
สามง่าม
Euodia roxburghiana
Ormosia penangensis
Leucobryum chlorophyllosum
Hedyotis uncinella
Monomeria barbata
Previous
Next