Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Paragaleus randalli
Paragaleus randalli
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Paragaleus randalli
Compagno, Krupp & Carpenter, 1996
Status:
ACCEPTED
ชื่อสามัญ::
-
Slender Weasel Shark
-
Slender weasel shark
ชื่อไทย:
-
ปลาฉลามหนู
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Elasmobranchii
อันดับ:
Carcharhiniformes
วงศ์::
Hemigaleidae
สกุล:
Paragaleus
ที่มา :
White and Harris (2013)
ปรับปรุงล่าสุด :
13 ก.พ. 2567
วันที่อัพเดท :
20 ก.ค. 2562 00:00 น.
วันที่สร้าง:
20 ก.ค. 2562 00:00 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อ่าวไทย ทะเลอันดามัน
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
- ขนาดความยาว สูงสุด 84 ซม. ขนาดทั่วไปที่พบ 40-70 ซม. ขนาดสมบูรณ์เพศ 60-70 ชม. และขนาดแรกเกิด 29 ซม.
- ปลายจะงอยปากโค้งมนเมื่อดูจากด้านล่างของหัว ปากโค้งเป็นมุมแคบ ฟันล่างใกล้จุดกึ่งกลางปาก ส่วนใหญ่มีปลายแหลมตรง ซึ่งมีตรงกลางฐานยกสูงเล็กน้อยเป็นรูป T กลับหัว และอาจมีปุ่มนูนเล็กที่ฐาน
ฟัน ซึ่งมีฟันล่างด้านหน้าถึงขอบข้างเท่ากับหรือมากกว่า 5 แถว และฟันล่างด้านหน้ามีปลายฟันเอียงเล็กน้อยมีเส้นคู่สีดำด้านใต้จะงอยปาก ช่องเปิดเหงือกเล็กมีความยาวน้อยกว่า 2 เท่าของความยาวตา ครีบท้อง ครีบหลัง และแพนครีบหางตอนล่างมีปลายไม่โค้ง ลำตัวสีน้ำตาลอ่อนหรือเทาดำ และด้านท้องมีสีขาว ปลายครีบหางมีสีดำ
- มีรายงานข้อมูลชีวิวิทยาของปลาชนิดนี้น้อยมาก ซึ่งเป็นชนิดที่ออกลูกเป็นตัว ครั้งละ 2 ตัว ส่วนใหญ่กินปลาขนาดเล็ก ปลาหมึก กุ้งและปูเป็นอาหาร
ระบบนิเวศ :
-
บริเวณพื้นท้องทะเลตามชายฝั่งทะเล จนถึงระดับความลึกน้ำ 18 เมตร
การกระจายพันธุ์ :
-
ในเขตน่านน้ำไทย พบทั้งทางฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน แต่ส่วนใหญ่พบทางฝั่งอ่าวไทย
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์
-
เนื้อนำมาบริโภค ครีบใช้ทำหูฉลามตากแห้ง ส่วนปลาที่ไม่สดใช้ทำปลาป่น
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (IUCN, 2009)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ Endangered: EN (ONEP, 2563)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (IUCN, 2009)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ Endangered: EN (ONEP, 2563)
ที่มาของข้อมูล
ปลากระดูกอ่อน (ปลาฉลาม ปลากระเบน และปลาหนู) ที่พบในน่านน้ำไทยและน่านน้ำใกล้เคียง, 2560, กรมประมง
วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา ปีที่ 24 (ฉบับที่ 2) พฤษภาคม - สิงหาคม พ.ศ.2562
IUCN Red List
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Azorinus scheepmakeri
Bullina lineata
โรนันยักษ์
Glaucostegus typus
Supplanaxis niger
ผีเสื้อหนอนบุ้งสีน้ำตาลมะขาม
Taragama dorsalis
Tellina moluccensis
Previous
Next