Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Parachela siamensis
Parachela siamensis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Parachela siamensis
(Günther, 1868)
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Chela siamensis Günther, 1868
- Oxygaster siamensis (Günther, 1868)
ชื่อสามัญ::
-
Glass minnow
-
Glass fish
ชื่อไทย:
-
แปบ
-
ปลาแปบ
-
แปบบาง
-
แปบสยาม
-
ปลาแปป
-
แปป
-
ปลาแปบสยาม
ชื่อท้องถิ่น::
-
ซูลุแวมูลุ
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Actinopterygii
อันดับ:
Cypriniformes
วงศ์::
Cyprinidae
สกุล:
Parachela
ที่มา :
กรมประมง
ปรับปรุงล่าสุด :
21 พ.ย. 2566
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
11 ก.ค. 2566
วันที่อัพเดท :
9 ก.ย. 2562 20:30 น.
วันที่สร้าง:
9 ก.ย. 2562 20:30 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำพรุควนขี้เสียน
-
ลุ่มน้ำปิง, ทะเลสาบดอยเต่า แม่น้ำปิง คลองแม่ระกา
-
อ่างเก็บน้ำคลองหลวง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
มีรูปร่างลักษณะคล้ายกับปลาแปบ P. oxygastroides แต่ลำตัวสั้นกว่าและมีเกล็ดบนแนวเส้นข้างตัวน้อยกว่าประมาณ
39-40 เกล็ด ตัวมีสีเงินวาวอมเหลืองอ่อน ครีบใส ครีบหางมีแต้มสีคล้ำที่ปลายครีบทั้ง 2 ซีก พบใหญ่สุด 15 เซนติเมตร ขนาดที่พบประมาณ 8 เซนติเมตร
-
มีลักษณะเด่นคือจุดกำเนิดของครีบหลังอยู่ด้านหน้าจุดกำเนิดของครีบก้น ปลายครีบอกยาวเลยปลายครีบท้อง ขนาดประมาณ 12 เซนติเมตร
-
อาศัยในแม่น้ำ และหนองบึง มักพบว่ายน้ำใกล้ผิวน้ำ อพยพไปบนพื้นที่น้ำท่วมช่วงฤดูน้ำหลาก นิสัยเป็นปลากินเนื้อ กินแพลงก์ตอนสัตว์ และแมลง ขนาดที่พบใหญ่สุดมีความยาว 8 เซนติเมตร
การกระจายพันธุ์ :
-
อาศัยในแม่น้ำและแหล่งน้ำหลากของภาคกลาง ตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ พบเป็นจำนวนไม่มากในลำคลองรอบพรุโต๊ะแดง
-
ลุ่มน้ำโขง ลุ่มน้ำเจ้าพระยา และภาคใต้ของประเทศไทย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
พรุโต๊ะแดง
-
เชียงใหม่,ตาก,กำแพงเพชร
-
เพชรบูรณ์
-
ชลบุรี
ระบบนิเวศ :
-
ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
-
Fresh Water
ถิ่นอาศัย :
-
" การกระจายพันธุ์ พบตั้งแต่ลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาจนถึง ลุ่มแม่น้ำโขง และภาคใต้ของประเทศไทย ในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา พบทั่วไป ตั้งแต่เขตลุ่มน้ำตอนกลางลงมาจนถึงลุ่มน้ำตอนล่าง และในบึงบอระเพ็ด"
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2012)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
สถานที่
กาฬสินธุ์
alcohol
พระนครศรีอยุธยา
alcohol
สุราษฎร์ธานี
alcohol
สุราษฎร์ธานี
alcohol
สุราษฎร์ธานี
alcohol
อุบลราชธานี
alcohol
สระแก้ว
alcohol
สุโขทัย
alcohol
พิษณุโลก
alcohol
พิษณุโลก
alcohol
สุโขทัย
alcohol
สุโขทัย
alcohol
สุโขทัย
alcohol
ชลบุรี
alcohol
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
สถานที่
ที่มาของข้อมูล
Freshwater FISHES IN THAILAND
OEPP Biodiversity Series Vol. 12 Peat Swamp Fishes of Thailand, 2545
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
กรมประมง
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
สัตว์น้ำเกียรติประวัติไทย, กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2566
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
IUCN Red List
กรมประมง
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Pericapritermes semarangi
Labidocera acuta
Coronidopsis serene
Apristurus longicephalus
ทากปุ่มทวารข้างม่วง
Fryeria picta
Fascellina meligerys
Previous
Next