Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Osteochilus hasselti
Osteochilus hasselti
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Osteochilus hasselti
(Valenciennes, 1842)
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย:
-
ปลาสร้อยนกเขา
-
สร้อยนกเขา
-
ปลาอีไท
ชื่อท้องถิ่น::
-
อีแกคูบุ
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Actinopterygii
อันดับ:
Cypriniformes
วงศ์::
Cyprinidae
สกุล:
Osteochilus
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
11 ก.ค. 2566
วันที่อัพเดท :
30 มิ.ย. 2564 19:01 น.
วันที่สร้าง:
30 มิ.ย. 2564 19:01 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
ลุ่มน้ำปิง, ทะเลสาบดอยเต่า แม่น้ำปิง แม่น้ำปิงตอนล่าง
-
ยโสธร,อำนาจเจริญ,อุบลราชธานี
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
แพร่, ยะลา, พิษณุโลก, นครพนม, เชียงใหม่, นนทบุรี, พระนครศรีอยุธยา, จันทบุรี, ชัยนาท, นครสวรรค์, ขอนแก่น, อุบลราชธานี, สุราษฎร์ธานี, กาญจนบุรี, นครราชสีมา, สงขลา, ปราจีนบุรี, นราธิวาส
-
พรุโต๊ะแดง, พรุในภาคตะวันออก
-
เชียงใหม่,ตาก,กำแพงเพชร
-
พื้นที่ลุ่มน้ำลำเซบาย, ลำเซบายตอนกลาง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
รูปร่างค่อนข้างป้อมส่วนหัวเล็ก ด้านหลังยกสูง ครีบหลังค่อนข้างยาว ครีบอื่นๆ มีขนาดเล็กครีบหางเว้าลึก เกล็ดใหญ่ตาเล็ก ปากเล็กอยู่ด้านปลายสุดของหัว ริมฝีปากมีขายครุยรอบๆ มีหนวดสั้น 2 คู่ ตัวและหัวมีสีคล้ำ ตอนบนมีสีเงินอมเทาหรือน้ำตาลอ่อน ตาสีแดงเรื่อมีแต้มสีแดงหรือสัม ที่เหนือครีบอกหลายแต้มและมีแถบตามยาวลำตัว 5-6 แถบ ไปถึงโคนหาง ที่โคนหางมีแต้มกลมสีคล้ำ ครีบสีคล้ำ
อมแดงหรือเหลือง ด้านท้องสีจาง ปลาที่มาจากบริเวณน้ำใสจะมีสีเข้มกว่าที่มาจากบริเวณน้ำขุ่น ขนาดใหญ่ที่สุด 30 เซนติเมตร พบทั่วไป 15-20 เซนติเมตร
การกระจายพันธุ์ :
-
พบในแหล่งน้ำทุกประเภท ทั่วทุกภาคของไทย จนถึงมาเลเซีย บอร์เนียว และอินโดนีเซีย
ระบบนิเวศ :
-
ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 12 Peat Swamp Fishes of Thailand, 2545
OEPP Biodiversity Series Vol. 4 Checklist of FISHES IN THAILAND, 2540
ป่าทามลำเซบาย, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สมาคมภูมินิเวศพัฒนาอย่างยั่งยืน, 2559
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Catostylus townsendi
Stenopus mollis
Scriptoplusia pulchristigma
มอทCraspedortha porphyria
Craspedortha porphyria
Bostrichthys sinensis
Trochus conus
Previous
Next