-
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
นก
-
นกขนาดเล็กมาก (12 ซม.) หน้าผากสีน้ำตาลแดง บริเวณหัวตาและคิ้วสีเนื้อ ลำตัวด้านบนสีเขียว - เขียวแกมเหลือง ด้านล่างลำตัวสีเนื้ออ่อน บริเวณอกและคอหอยมีขนสีเข้ม ทำให้ดูคล้ายกับมีลายสีเทาพาดบริเวณดังกล่าว
-
หน้าผากและกระหม่อมสีน้ำตาลแดง คิ้วและหน้าสีขาวแกมเทา ลำตัวด้านบนมีสีเขียวคล้ำ ลำตัวด้านล่างขาว บางครั้ง
ใต้คอเห็นเป็นสีดำโดยเฉพาะขณะร้อง คล้ายนกกระจิบคอดำแต่บริเวณก้นเป็นสีขาวเพศผู้ขนชุดฤดูผสมพันธุ์หางคู่กลางยาวมากและปลายแหลม
-
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
หน้าผากและกระหม่อมน้ำตาลแดง คิวและหน้าขาวแกมเทา ลำตัวด้านบนเขียวคล้ำ ลำตัวด้านล่างขาว บางครั้งใต้คอเห็นเป็นสีดำโดยเฉพาะขณะร้อง คล้ายนกกระจิบคอดำ แต่ก้นและขนคลุมใต้โคนหางขาว ตัวผู้ขนชุดผสมพันธุ์ : หางคู่กลางยาวมากและปลายแหลม
-
ระบบนิเวศ :
-
ชายป่า ป่าละเมาะ สวนผลไม้ สวนสาธารณะใกล้ชุมชน ที่ราบถึงสูง 1,525 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
-
พบตามป่าโปร่ง ป่ารุ่น ป่าขายเลน ทุ่งหญ้า ป่าละเมาะ และสวนผลไม้ มักพบเกาะและกระโดดไปตามกิ่งก้านภายในเรือนยอดของต้นไม้ หรือไม้พุ่ม ขณะที่เกาะหางมักจะตั้งขึ้นในแนวเกือบตั้งฉากกับลำตัว อาหารได้แก่ แมลงและตัวหนอนต่างๆ
-
ชายป่า ป่าละเมาะ สวนผลไม้ สวนสาธารณะใกล้ชุมชน
-
ระบบนิเวศภูเขา
-
ระบบนิเวศเกษตร
-
ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
-
ระบบนิเวศป่าไม้
-
ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
-
ระบบนิเวศเกษตร
-
สวนยาง ทุ่งหญ้า ชายป่า ป่ายางแดง นาข้าว
-
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
-
อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อุบลราชธานี, อุทยานแห่งชาติมุกดาหาร (ภูผาเติบ)
-
อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
-
เลย
-
นนทบุรี
-
มุกดาหาร
-
พะเยา
-
อุตรดิตถ์,แพร่,น่าน,พะเยา
-
น่าน
-
กระบี่
-
สมุทรปราการ
-
นนทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา
-
นนทบุรี
-
กรุงเทพมหานคร
-
กรุงเทพมหานคร
-
กระบี่, ชุมพร, พะเยา, สุราษฎร์ธานี, ระนอง, อุตรดิตถ์, แพร่, ลำปาง, ลำพูน, นครสวรรค์, เชียงราย
-
ยะลา,ปัตตานี
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
การขยายพันธุ์ :
-
ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน ทำรังตามต้นไม้ ด้วยการโน้มใบพีช 2-3 ใบที่อยู่ใกล้กันมารวมกัน ใข้ใยแมงมุมเย็บหรือเขื่อมขอบใบพืชให้ติดกันทำรังเป็นรูปกะเปราะ มีทางเข้าออกอยู่ทางด้านบน ไข่สีขาว มีลายจุดสีน้ำตาลแดง แต่ละรังมีไข่ 3 - 4 ฟอง ระยะเวลาฟักไข่ 11 - 13 วัน
-
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ป่าภูหลวง
-
พื้นที่เกษตรกรรม
-
ภูผาเทิบ
-
บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
-
ลุ่มน้ำอิง,ลุ่มน้ำยม,ลุ่มน้ำน่าน
-
พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
-
ป่าคลองกาโหรด และป่าคลองหิน กระบี่, ป่าทุ่งระยะและป่านาสัก ชุมพร, ป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว พะเยา, ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี, ป่าละอุ่น และป่าราชกรูด ระนอง, ป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา อุตรดิตถ์, ป่าแม่คำมี แพร่, ป่าแม่จางฝั่งซ้าย ลำปาง, ป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร ลำพูน, ป่าแม่วงก์ - แม่เปิน นครสวรรค์, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
-
พรุลานควาย
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
การกระจายพันธุ์ :
-
นกประจำถิ่น