Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Orectolobus leptolineatus
Orectolobus leptolineatus
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Orectolobus leptolineatus
Last, Pogonoski & White, 2010
Status:
ACCEPTED
ชื่อสามัญ::
-
Indonesian wobbegong
-
Indonesian wobbegong, Indo wobbegong, false cobble
ชื่อไทย::
-
ฉลามปากหนวด, ฉลามกบปากหนวด
-
ปลาฉลามปากหนวด
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Elasmobranchii
อันดับ:
Orectolobiformes
วงศ์::
Orectolobidae
สกุล:
Orectolobus
ที่มา :
สุภชัย รอดประดิษฐ์ และทัศพล กระจ่างดารา
ปรับปรุงล่าสุด :
13 ก.พ. 2567
วันที่อัพเดท :
19 ก.ค. 2562 00:00 น.
วันที่สร้าง:
19 ก.ค. 2562 00:00 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อ่าวไทย
ระบบนิเวศ :
-
Marine
-
บริเวณพื้นท้องทะเลตามแนวหินและแนวปะการัง ตั้งแต่ชายฝั่งทะเลถึงระดับความลึกน้ำ 120 เมตร บางครั้งอาจพบบริเวณใกล้ผิวน้ำ
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
- ขนาดความยาว สูงสุด 120 ชม. ขนาดทั่วไปที่พบ 80-100 ซม. ขนาดสมบูรณ์เพศของเพศผู้ 60-90 ชม. เพศเมีย 94-108 ซม. ขนาดแรกเกิด 21 ซม. และขนาดตัวอ่อนที่พบในท้องแม่ 13-14 ชม.
- มีติ่งเนื้อคล้ายหนวดด้านข้างส่วนหัว 6-10 คู่ ลำตัวสีน้ำตาลมีลวดลายเป็นวงกลมกระจายทั่วบนลำตัว และบริเวณหน้าครีบหลังมีแถบขวางสีน้ำตาลเข้ม 3 แถบ และสีน้ำตาลอ่อน 1 แถบโดย 2 แถบกลางตัวมีจุดวงกลมตรงกลาง 2 จุด และด้านท้องมีสีขาว
- เป็นชนิดที่ออกลูกเป็นตัว ครั้งละ 20-37 ตัว โดยตัวอ่อนได้รับสารอาหารจากถุงไข่แดง ส่วนใหญ่กินปลาหน้าดินขนาดเล็ก ปลาหมึก กุ้งและปูเป็นอาหาร
การกระจายพันธุ์ :
-
ในเขตน่านน้ำไทย พบเฉพาะทางฝั่งทะเลอันดามัน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์ :
-
เนื้อนำมาบริโภคได้ และผิวหนังใช้ทำเครื่องหนัง
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพข้อมูลไม่เพียงพอ Data Deficient: DD (ONEP, 2563)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพข้อมูลไม่เพียงพอ Data Deficient: DD (ONEP, 2563)
ที่มาของข้อมูล
ปลากระดูกอ่อน (ปลาฉลาม ปลากระเบน และปลาหนู) ที่พบในน่านน้ำไทยและน่านน้ำใกล้เคียง, 2560, กรมประมง
วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา ปีที่ 24 (ฉบับที่ 2) พฤษภาคม - สิงหาคม พ.ศ.2562
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
หอยคอคอดเปลือกแบนหางปลา
Dicharax caudapiscis
Pseudoboletia maculata
นกนางแอ่นแปซิฟิค
Hirundo tahitica
Tambana subflava
Caranx microbrachium
Macrotermes malaccensis
Previous
Next