Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Acanthus ebracteatus
Acanthus ebracteatus
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Acanthus ebracteatus
Vahl
Status:
ACCEPTED
ชื่อสามัญ::
-
Sea holly, Holly mangrove
ชื่อไทย::
-
เหงือกปลาหมอขาว
-
เหงือกปลาหมอ
-
เหงือกปลาหมอดอกขาว
-
เหงือกปลาหมอ (เหงือกปลาหมอดอกม่วงและดอกขาว)
ชื่อท้องถิ่น::
-
Sea Holly
-
Ngueak pla mo
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Lamiales
วงศ์::
Acanthaceae
สกุล:
Acanthus
ที่มา :
กองอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ปรับปรุงล่าสุด :
28 มิ.ย. 2566
ที่มา :
กองอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ปรับปรุงล่าสุด :
28 มิ.ย. 2566
ที่มา :
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
ปรับปรุงล่าสุด :
28 ส.ค. 2563
ที่มา :
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
ปรับปรุงล่าสุด :
28 ส.ค. 2563
ที่มา :
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
ปรับปรุงล่าสุด :
28 ส.ค. 2563
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:24 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:24 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่มสูง 0.5-1 ม. ลำต้นแข็ง มีหนามตามข้อ ใบเป็นใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 3-7 ซม. ยาว 6-20 ซม. ขอบใบเว้าหยักเป็นซี่ฟันห่างๆ ปลายเป็นซี่หนามแหลม แผ่นใบเป็นคลื่น ผิวเรียบเป็นมัน เหนียวและแข็ง ดอกสีขาว มักมีจุดประแซมสีแดงหรือม่วงแดง ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยขนาดกว้าง 0.8-1 ซม. ยาว 2-2.5 ซม. บานจากโคนช่อถึงปลายยอด ผลเป็นฝักรูปทรงกระบอกหรือรูปไข่ ขนาด 1.5-2 ซม.
-
ไม้พุ่ม ตามข้อมีหนาม ชี้ลงเล็กน้อย ขอบใบจักลึกหรือตื้น ๆ เป็นหนามแข็ง หรือเกือบเรียบ ช่อดอกออกที่ปลายกิ่ง ส่วนมากยาวไม่เกิน 10 ซม. ดอกสีขาว ใบประดับมีอันเดียว ยาวประมาณ 5–7 มม. ใบประดับย่อยรูปไข่ ยาว 3–5 มม. หรือไม่มี ตาดอกยาว 1.8–2.2 ซม. กลีบเลี้ยงยาว 6–8 มม. กลีบปากล่างยาว 1–1.5 ซม. เกลี้ยงด้านนอก ด้านในมีขนสั้นนุ่ม เกสรเพศผู้ยาว 1.2–1.5 ซม. อับเรณูยาว 3–5 มม. ผลยาว 2–2.5 ซม.
-
ไม้พุ่มลำต้นเลื้อย มีหนามตามข้อ สูง 1-2 ม. ลำต้นกลมเกลี้ยง สีเขียวถึงคล้ำ ไม่มีเนื้อไม้ภายในเป็นโพรง เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 ซม. ต้นตั้งตรง แต่เมื่ออายุมากมักทอดเอนและ แตกกิ่ง มีรากค้ำยันตามโคนต้น บางครั้งมีรากอากาศออกตามผิวด้านล่างของลำต้นที่ทอดเอน
ใบ เดี่ยว เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก แผ่นใบรูปรี รูปขอบขนานถึงรูปขอบขนานแคบ ขนาด 3-7x8-22 ซม. โคนใบรูปลิ่ม ขอบใบเรียบถึงเว้าเป็นหยักรูปคลื่น 5-6 คู่ คู่สุดท้ายไม่เป็นหยักเด่น มีหนามที่ปลายหยัก (มักเกิดที่ปลายเส้นแขนง) และมีหนามขนาดเล็กอยู่กลางหยัก ปลายใบแหลม หรือเป็นรูปสามเหลี่ยมกว้างมีหนามแหลมที่ปลาย เนื้อใบอวบน้ำบางๆ (ใบแก่ในที่โล่งแจ้งมักแข็งคล้ายแผ่นหนัง) ผิวใบเกลี้ยงทั้ง 2 ด้าน ด้านบนสีเขียวเข้มเป็นมันวาว ด้านล่างสีเขียวอ่อน ก้านใบยาว 0.5-1.5 ซม. มักมีหนามแหลม 1 คู่ ที่โคนก้านใบ
ดอก แบบช่อเชิงลดไร้ก้าน ออกตามปลายยอด ช่อดอกขนาดไม่แน่นอน ส่วนใหญ่ยาวน้อยกว่า 10 ซม. บางครั้งอาจยาวถึง 15 ซม. ไม่มีก้านดอก ออกเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉากรอบแกนกลางประมาณ 8-12 คู่ แต่ละดอกรองรับด้วยใบประดับ 3 ใบ ใบประดับล่างสุดสั้นกว่ากลีบเลี้ยงและหลุดร่วง ก่อนดอกบาน ใบประดับย่อยด้านข้างมี 1 คู่ ปรากฏเฉพาะช่วงระยะแรกแล้วหลุดร่วงไป ออกดอกตลอดทั้งปี ส่วนใหญ่ออกดอกระหว่างเดือน มกราคม-พฤษภาคม
ผล แบบผลแห้งแตกกลางพูเป็นสองซีก รูปทรงรี ยาวน้อยกว่า 2 ซม. ผิวเกลี้ยงเป็นมัน สีเขียวคล้ำ ถึงน้ำตาลอ่อน ภายในมี 2-4 เมล็ด รูปร่างแบน เป็นเหลี่ยม เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5-0.7 ซม. เปลือกเมล็ดบางมีรอยย่นสีเขียวอมขาว ออกผลเกือบตลอดทั้งปี
-
ไม้พุ่มขนาดเล็ก
-
ไม้พุ่มสูง 0.5-1 ม. ลำต้นแข็ง มีหนามตามข้อ ใบเป็นใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 3-7 ซม. ยาว 6-20 ซม. ขอบใบเว้าหยักเป็นซี่ฟันห่างๆ ปลายเป็นซี่หนามแหลม แผ่นใบเป็นคลื่น ผิวเรียบเป็นมัน เหนียวและแข็ง ดอกสีขาว มักมีจุดประแซมสีแดงหรือม่วงแดง ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยขนาดกว้าง 0.8-1 ซม. ยาว 2-2.5 ซม. บานจากโคนช่อถึงปลายยอด ผลเป็นฝักรูปทรงกระบอกหรือรูปไข่ ขนาด 1.5-2 ซม.
-
ไม้พุ่มสูง 0.5-1 ม. ลำต้นแข็ง มีหนามตามข้อ ใบเป็นใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 3-7 ซม. ยาว 6-20 ซม. ขอบใบเว้าหยักเป็นซี่ฟันห่างๆ ปลายเป็นซี่หนามแหลม แผ่นใบเป็นคลื่น ผิวเรียบเป็นมัน เหนียวและแข็ง ดอกสีขาว มักมีจุดประแซมสีแดงหรือม่วงแดง ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยขนาดกว้าง 0.8-1 ซม. ยาว 2-2.5 ซม. บานจากโคนช่อถึงปลายยอด ผลเป็นฝักรูปทรงกระบอกหรือรูปไข่ ขนาด 1.5-2 ซม.
-
ไม้พุ่มสูง 0.5-1 ม. ลำต้นแข็ง มีหนามตามข้อ ใบเป็นใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 3-7 ซม. ยาว 6-20 ซม. ขอบใบเว้าหยักเป็นซี่ฟันห่างๆ ปลายเป็นซี่หนามแหลม แผ่นใบเป็นคลื่น ผิวเรียบเป็นมัน เหนียวและแข็ง ดอกสีขาว มักมีจุดประแซมสีแดงหรือม่วงแดง ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยขนาดกว้าง 0.8-1 ซม. ยาว 2-2.5 ซม. บานจากโคนช่อถึงปลายยอด ผลเป็นฝักรูปทรงกระบอกหรือรูปไข่ ขนาด 1.5-2 ซม.
การกระจายพันธุ์ :
-
พบทั่วไปในเขตร้อนของทวีปเอเชีย ในประเทศไทยพบตามที่ลุ่มริมแม่น้ำลำคลองบริเวณน้ำกร่อย และป่าชายเลน ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน
-
ประเทศอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก และตอนเหนือของออสเตรเลีย
-
พบทั่วไปในเขตร้อนของทวีปเอเชีย ในประเทศไทยพบตามที่ลุ่มริมแม่น้ำลำคลองบริเวณน้ำกร่อย และป่าชายเลน ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน
-
พบทั่วไปในเขตร้อนของทวีปเอเชีย ในประเทศไทยพบตามที่ลุ่มริมแม่น้ำลำคลองบริเวณน้ำกร่อย และป่าชายเลน ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน
-
พบทั่วไปในเขตร้อนของทวีปเอเชีย ในประเทศไทยพบตามที่ลุ่มริมแม่น้ำลำคลองบริเวณน้ำกร่อย และป่าชายเลน ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุมน้ำปากแม่น้ำกระบี่
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้พุ่ม (Shrub)
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
สมุทรปราการ
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2010)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2010)
ที่มาของข้อมูล
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กลุ่มงานพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)
พันธุ์ไม้ป่าชายเลน, กองอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2563
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
IUCN Red List
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Garcinia celebica
Knema austrosiamensis
Symphysodon siamensis
Hapaline benthamiana
ข้าวตอกภูแลนคา
Platostoma ovatum
Cyperus compressus
Previous
Next