Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Okamejei hollandi
Okamejei hollandi
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Okamejei hollandi
(Jordan & Richardson, 1909)
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Raja hollandi Jordan & Richardson, 1909
ชื่อสามัญ::
-
Yellow Spotted Skate
-
Holland skate
-
Yellow-spotted skate, Holland skate, thornback ray
ชื่อไทย::
-
กระเบนหลังหนามจุดเหลือง
-
กระเบนหลังหนามจุดเหลือง, กระเบนหลังหนามฮอล์แลนด์
-
ปลากระเบนหลังหนามจุดเหลือง
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Elasmobranchii
อันดับ:
Rajiformes
วงศ์::
Rajidae
สกุล:
Okamejei
ที่มา :
ดร.ชวลิต วิทยานนท์
ปรับปรุงล่าสุด :
13 ก.พ. 2567
วันที่อัพเดท :
23 ก.ค. 2562 00:00 น.
วันที่สร้าง:
23 ก.ค. 2562 00:00 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อ่าวไทย
ระบบนิเวศ :
-
Marine
-
บริเวณพื้นท้องทะเลที่เป็นโคลนหรือทรายตามไหล่ทวีปที่ระดับความลึกน้ำ 65-87 เมตร
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
- ขนาดความยาว สูงสุด 45 ชม. ขนาดทั่วไปที่พบ 25-40 ชม. และขนาดสมบูรณ์เพศของเพศผู้ 30 ชม.
- แผ่นลำตัวแบนบาง ขอบหน้าแผ่นลำตัวโค้งเป็นลอนคลื่น จะงอยปากแหลมยาว มีตุ่มหนามขนาดเล็กรอบดวงตา ปลายจะงอยปาก ใกล้ขอบแผ่นลำตัวตอนหน้า และที่ส่วนหาง ลำตัวด้านบนสีน้ำตาล ด้านท้องสีคล้ำออกน้ำตาลปนเทา มีจุดใหญ่เป็นวงกลมสีน้ำตาลเข้มซึ่งมีเส้นขอบสีอ่อน 1 คู่ที่ตอนท้ายครีบอก มีจุดด่างสีอ่อนเป็นดวงๆ และมีจุดเล็กๆ สีน้ำตาลเข้มกระจายทั่วบนแผ่นลำตัว
- เป็นชนิดที่ออกลูกเป็นไข่ ครั้งละ 2 ฟอง ซึ่งเป็นกระเปาะสี่เหลี่ยมคล้ายไข่ของปลาฉลามกบ มีขนาดความยาว 7 ชม. และกว้าง 4 ชม. แต่ที่มุมทั้งสี่ด้านจะมีก้านแข็งยื่นออกมาเพื่อใช้ปักลงบนพื้นทรายหรือโคลน ส่วนใหญ่กินปลาขนาดเล็ก กุ้งและปูเป็นอาหาร
การกระจายพันธุ์ :
-
ในเขตน่านน้ำไทย พบเฉพาะทางฝั่งอ่าวไทย
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์ :
-
เนื้อนำมาบริโภคได้
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพข้อมูลไม่เพียงพอ Data Deficient: DD (IUCN, 2009)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพข้อมูลไม่เพียงพอ Data Deficient: DD (ONEP, 2563)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพข้อมูลไม่เพียงพอ Data Deficient: DD (IUCN, 2009)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพข้อมูลไม่เพียงพอ Data Deficient: DD (ONEP, 2563)
ที่มาของข้อมูล
ปลากระดูกอ่อน (ปลาฉลาม ปลากระเบน และปลาหนู) ที่พบในน่านน้ำไทยและน่านน้ำใกล้เคียง, 2560, กรมประมง
วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา ปีที่ 24 (ฉบับที่ 2) พฤษภาคม - สิงหาคม พ.ศ.2562
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
IUCN Red List
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
ปะการังหนังกิ่งสั้น
Cladiella tuberosa
แมลงทับสลักลายม่วง
Lampetis affinis
Abudefduf biocellatus
แมลงปอเสือ
Onychogomphus kerri
Lepadella acuminata
Linckia guildingi
Previous
Next