Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Nettapus coromandelianus
Nettapus coromandelianus
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Nettapus coromandelianus
(Gmelin, 1789)
Status:
ACCEPTED
ชื่อสามัญ::
-
Cotton Pygmy Goose
-
Cotton Pygmy goose
ชื่อไทย::
-
เป็ดคับแค
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Aves
อันดับ:
Anseriformes
วงศ์::
Anatidae
สกุล:
Nettapus
ที่มา :
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
ปรับปรุงล่าสุด :
3 ก.ค. 2566
ที่มา :
วังวร สังฆเมธาวี
ปรับปรุงล่าสุด :
30 มิ.ย. 2566
วันที่อัพเดท :
19 ธ.ค. 2561 15:59 น.
วันที่สร้าง:
19 ธ.ค. 2561 15:59 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
นกขนาดเล็กถึงกลาง (33 ซม.) ตัวผู้และตัวเมียต่างกันเล็กน้อย โดยตัวผู้บริเวณใบหน้า คอและด้านล่างของลำตัวเป็นสีขาว ด้านบนลำตัว กลางหัวและแถบรอบคอเป็นสีดำแกมเขียว ในขณะที่ตัวเมียใบหน้าสีขาวแต่จางกว่าและไม่มีแถบรอบคอ สีของลำตัว
จะออกเป็นสีน้ำตาล
ระบบนิเวศ :
-
อาศัยในแหล่งน้ำทั่วไป มักพบว่ายหากินอยู่บนผิวน้ำ เวลาบินจะบินเรี่ยๆ ผิวน้ำ กระพือปีกเร็ว อาหารได้แก่ สัตว์น้ำเล็กๆ รวมทั้งพืชน้ำและเมล็ดพืชบางขนิดด้วย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
-
อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
บุรีรัมย์
-
กระบี่
-
ฉะเชิงเทรา
-
นนทบุรี
การขยายพันธุ์ :
-
การผสมพันธุ์ ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนกรกฎาคม-เดือนสิงหาคม ทำรังวางไข่ใน โพรงไม้ ไข่สีขาว ในแต่ละรังมีไข่ 8-15 ฟอง ใช้เวลาฟักประมาณ 24-26 วัน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2560)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2560)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 7 Birds of Bung Boraphet, 2543
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
บริษัท บี.กริม เพาเวอร์ จำกัด (มหาชน)
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
IUCN Red List
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
มดตะลานเสรี
Camponotus sericeus
แป้นแก้ว
Parambassis siamensis
มอท
Cleora repetita
Callosobruchus rhodesianus
งูชายธงข้าวหลามตัด
Hydrophis jerdonii
หอยจิ๋วเกลียวเวียน
Stosicia annulata
Previous
Next