Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Neopomacentrus azysron
Neopomacentrus azysron
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Neopomacentrus azysron
(Bleeker, 1877)
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Abudefduf melanocarpus Fowler & Bean, 1928
- Pomacentrus azysron Bleeker, 1877
ชื่อสามัญ::
-
Yellowtail demoiselle
-
Yellowtail demoiselle, Bluestreak damselfish
ชื่อไทย:
-
ปลาสลิดหินหางเหลือง
-
สลิดหินหางเหลือง
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Actinopterygii
อันดับ:
Perciformes
วงศ์::
Pomacentridae
สกุล:
Neopomacentrus
ที่มา :
โอภาส ชามะสนธิ์ และ ไพรินทร์ เพ็ญประไพ
ปรับปรุงล่าสุด :
19 เม.ย. 2567
วันที่อัพเดท :
20 พ.ย. 2562 14:19 น.
วันที่สร้าง:
20 พ.ย. 2562 14:19 น.
ข้อมูลทั่วไป
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
นครศรีธรรมราช
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เกาะกระ
ระบบนิเวศ :
-
Marine
-
แนวปะการัง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เปนปลาขนาดเล็กที่พบรวมกันเปนฝูง มีลําตัวปอมสั้นจนถึงรูปไข แบนขางมาก ปากมีขนาดเล็กสามารถยืดหดไดฟนบนขากรรไกรบนและลางเปนแบบกรวย มีรูจมูกเพียงคูเดียว เกล็ดเปนแบบขอบหนาม (ctenoid) เสนขางตัวแบงเปนสองเสน มีครีบหลังเปนแบบตอนเดียว มีกานครีบแข็ง 10–14 กาน ครีบกนมีกานครีบแข็ง 2 กาน ครีบหูมีขนาดใหญ ครีบทองอยูในตําแหนงอก ครีบหางเวาลึกแบบสอม มีสีพื้นลําตัวสีเทาเหลือบเงิน ดานทองสีออน
-
เป็นปลาขนาดเล็ก โตเต็มที่ 7.5 เซนติเมตร มีรูปทรงกลมมนยาว คล้ายปลานิล ครีบหลีงตอนเดียวแบบยาว ตาขนาดเล็ก ลำตัวมีสีเทาอมน้ำตาล ตั้งแต่คอดหางจนถึงปลายหางจะมีสีเหลือง มีจุดสีดำใกล้กับช่องเปิดเหงือกหนึ่งจุด มักพบในแนวลาดชันด้านนอกและมักพบในช่องคลื่นลึกหรือแนวหินที่อยู่ติดกัน ก่อตัวเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ในแหล่งอาศัยย่อยน้ำขึ้นน้ำ การออกไข่ การจับคู่ที่ต่างเพศกันระหว่างการผสมพันธุ์ ไข่มีลักษณะเป็นน้ำและเกาะติดกับพื้นผิว เพศผู้ปกป้องและเติมอากาศให้กับไข่
การกระจายพันธุ์ :
-
บริเวณอ่าวไทยตอนใน
ถิ่นอาศัย :
-
พบทั่วไปตามแถบน่านน้ำอินโด-แปซิฟิกตะวันตก
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพข้อมูลไม่เพียงพอ Data Deficient: DD (ONEP, 2563)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
สถานที่
PMBC-1-OST-10470
PMBC
Alchohol
ทะเล
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
สถานที่
ที่มาของข้อมูล
กรมประมง
ชนิดปลาบริเวณอ่าวไทยตอนในจากเรือสำรวจประมง 2, กรมประมง, 2563
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Plectorhinchus macrospilus
Prophagorus nieuhofi
Niponius canalicollis
Ixodia erythropthalmos
นกเขาเปล้า
Treron curvirostra
Hospitalitermes jepsoni
Previous
Next