Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Nectarinia jugularis
Nectarinia jugularis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Nectarinia jugularis
(Linnaeus, 1766)
Status:
SYNONYM
ชื่อสามัญ::
-
Olive-backed Sunbird
ชื่อไทย::
-
นกกินปลีอกเหลือง
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Aves
อันดับ:
Passeriformes
วงศ์::
Nectariniidae
สกุล:
Cinnyris
ปีที่ตีพิมพ์:
1998
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
11 ก.ค. 2566
วันที่อัพเดท :
2 มิ.ย. 2564 08:51 น.
วันที่สร้าง:
2 มิ.ย. 2564 08:51 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
นกขนาดเล็กมาก ( 11 ซม.) ตัวผู้บริเวณคอหอยและอกตอนบนสีน้ำเงินเป็นมัน ท้องและขนคลุมโคนขนหางด้านล่างสีเหลืองสด ด้านบนลำตัวสีเขียว ตัวผู้บางตัวในช่วงนอกฤดูผสมพันธุ์จะมีสีสันคล้ายตัวเมีย แต่จะมีแถบสีน้ำเงิน-ดำพาดตรงกลางคอหอย ตัวเมียด้านล่างลำตัวจะมีสีเหลืองสดรวมทั้งคอหอย
-
นกเพศผู้ลำตัวด้านบนสีเขียวแกมน้ำตาลหน้าผาก คอถึงอกสีน้ำเงินเข้มเหลือบเป็นมันตอนล่างมีแถบสีน้ำตาลแดง ลำตัวด้านล่างสีเหลืองสด ขอบหางคู่นอกและใต้หางสีขาว นกเพศผู้ผลัดขน คิ้วสีเหลือง มีสีน้ำเงินเข้มเฉพาะกลางคอถึงกลางอก นกเพศเมีย ลำตัวด้านบนสีเขียวคล้ำเกมเหลือง คิ้วสีเหลือง ลำตัวด้านล่าง ขอบทางคู่นอกและใต้หางสีขาว
ระบบนิเวศ :
-
พบได้หลายสภาพ เช่น ป่าโปร่ง สวนผลไม้ และป่าละเมาะ กินน้ำหวานจากดอกไม้ต่างๆ เป็นอาหาร นอกจากนี้ยังกินแมลงอื่นๆ อีกด้วย
-
ป่าโปร่ง พื้นที่กษตรกรรม สวนผลไม้และสวนสาธารณะ
-
ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
-
ระบบนิเวศเกาะ
-
ระบบนิเวศเกษตร
-
ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
-
ระบบนิเวศป่าไม้
-
ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
-
ระบบนิเวศเกษตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
-
อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อุบลราชธานี, อุทยานแห่งชาติมุกดาหาร (ภูผาเติบ)
-
เชียงใหม่
-
สุราษฏร์ธานี
-
เชียงใหม่
-
มุกดาหาร
-
พะเยา
-
อุตรดิตถ์,แพร่,น่าน,พะเยา
-
น่าน
-
สมุทรปราการ
-
นนทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
การขยายพันธุ์ :
-
ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนมีนาคม-กรกฎาคม ทำรังตามกิ่งก้านของต้นไม้หรือพืชต่างๆ ทำรังแบบแขวน เป็นรูปบวบหรือรียาว ตรงกลางป่องหรือพองโตปลายด้านหนึ่งแขวนกับกิ่งไม้ อีกด้านห้อยลงมายังพื้นดิน ตัวเมียตัวเดียวที่สร้างรัง แต่ละรังมีไข่ 2 ฟอง ไข่สีขาวมีลายจุดสีน้ำตาล ระยะเวลาฟักไข่ 13-14 วัน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ลุ่มน้ำปิง, แม่น้ำปิงตอนบน
-
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะอ่างทอง
-
พื้นที่เกษตรดอยอินทนนท์และอำเภอจอมทอง
-
ภูผาเทิบ
-
บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
-
ลุ่มน้ำอิง,ลุ่มน้ำยม,ลุ่มน้ำน่าน
-
พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 18 Birds of Dry and Semi-Humid Ecosystem, 2550
OEPP Biodiversity Series Vol. 7 Birds of Bung Boraphet, 2543
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศเกษตร (Agricultural Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน (Inland Water Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 6 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกาะ, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 7 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกษตร, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Trichogaster leeri
กระดี่นาง
Trichopodus microlepis
Portunus orbicularis
Balistes stellatus
สังกะวาดหน้าหนู
Eutropiichthys salweenensis
Hemirhamphus xanthopterus
Previous
Next