Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Narke dipterygia
Narke dipterygia
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Narke dipterygia
(Bloch & Schneider, 1801)
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Bengalichthys impennis Annandale, 1909
- Raja dipterygia Bloch & Schneider, 1801
ชื่อสามัญ::
-
Spottail Sleeper Ray
-
Spot-tail sleeper ray
-
Spottail sleeper ray, spot-tail sleeper ray, spott
ชื่อไทย::
-
กระเบนไฟฟ้า
-
กระเบนไฟฟ้าหางจุด
-
กระเบนไฟฟ้าหางจุด, กระเบนไฟฟ้า, เสียว
-
ปลากระเบนไฟฟ้าหางจุด, ปลาเสียว
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Elasmobranchii
อันดับ:
Rajiformes
วงศ์::
Narkidae
สกุล:
Narke
ที่มา :
Ahmad et al. (2017)
ปรับปรุงล่าสุด :
13 ก.พ. 2567
วันที่อัพเดท :
2 ม.ค. 2562 00:00 น.
วันที่สร้าง:
2 ม.ค. 2562 00:00 น.
ข้อมูลทั่วไป
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ประจวบคีรีขันธ์, ปัตตานี, อ่าวไทย
ระบบนิเวศ :
-
Central Indo-west Pacific
-
บริเวณพื้นท้องทะเลที่เป็นโคลนหรือทรายตามชายฝั่งทะเล จนถึงขอบไหล่ทวีปที่ระดับความลึกน้ำ 100 เมตร
การกระจายพันธุ์ :
-
Central Indo-west Pacific
-
ในเขตน่านน้ำไทย พบทั้งทางฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Spottail Sleeper Ray
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
- สูงสุด 35 ชม. (ส่วนใหญ่พบไม่เกิน 20 ชม.) ขนาดทั่วไปที่พบ 10-20 ชม. ขนาดสมบูรณ์เพศของเพศผู้ 15 ชม. และขนาดแรกเกิด 10-12 ชม.
- ส่วนลำตัวสั้น มีครีบหลัง 1 อัน ลำตัวด้านบนสีน้ำตาล อาจมีจุดสีขาวเป็นดวงๆ บนครีบอก เหนือครีบท้อง และโคนหาง และด้านท้องมีสีขาว
- มีรายงานข้อมูลชีววิทยาของปลาชนิดนี้น้อยมาก ซึ่งเป็นชนิดที่ออกลูกเป็นตัว ครั้งละ 4-6 ตัว โดยตัวอ่อนได้รับสารอาหารจากถุงไข่แดง ส่วนใหญ่กินสัตว์หน้าดินขนาดเล็กเป็นอาหาร
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์ :
-
วัตถุดิบในการผลิตปลาป่น
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพข้อมูลไม่เพียงพอ Data Deficient: DD (IUCN, 2009)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ Endangered: EN (ONEP, 2560)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพข้อมูลไม่เพียงพอ Data Deficient: DD (IUCN, 2009)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ Endangered: EN (ONEP, 2560)
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 4 Checklist of FISHES IN THAILAND, 2540
ONEP Biodiversity Series Vol. 16 : Thailand Red Data : Fishes
ปลากระดูกอ่อน (ปลาฉลาม ปลากระเบน และปลาหนู) ที่พบในน่านน้ำไทยและน่านน้ำใกล้เคียง, 2560, กรมประมง
วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา ปีที่ 24 (ฉบับที่ 2) พฤษภาคม - สิงหาคม พ.ศ.2562
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
IUCN Red List
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Gennadas propinquus
Elymnias vasudeva
Aphodius assamensis
Eoophyla thaiensis
ผีเสื้อ
Bactra coronata
Teredo furcifera
Previous
Next