Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรชีวภาพของประเทศไทย
พื้นที่อนุรักษ์ตามกฎหมายและพื้นที่ OECMs
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Mustelus mosis
Mustelus mosis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Mustelus mosis
Hemprich & Ehrenberg, 1899
Status:
ACCEPTED
ชื่อสามัญ::
-
Arabian Smoothhound
-
Arabian smoothhound
-
Arabian smooth-hound, Moses smooth-hound, hardnose
ชื่อไทย:
-
ฉลามหมา, ฉลามหนู
-
ปลาฉลามหมา, ปลาฉลามหนู
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Elasmobranchii
อันดับ:
Carcharhiniformes
วงศ์::
Triakidae
สกุล:
Mustelus
ที่มา :
ทัศพล กระจ่างดารา
ปรับปรุงล่าสุด :
13 ก.พ. 2567
วันที่อัพเดท :
20 ก.ค. 2562 00:00 น.
วันที่สร้าง:
20 ก.ค. 2562 00:00 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ทะเลอันดามัน
ระบบนิเวศ :
-
Marine
-
บริเวณพื้นท้องทะเลตามไหล่ทวีปถึงระดับความลึกน้ำ 250 เมตร และอาจพบตามแนวปะการัง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
- ขนาดความยาว สูงสุด 150 ชม. ขนาดทั่วไปที่พบ 80-115 ชม. ขนาดสมบูรณ์เพศของเพศผู้ 63-67 ชม. เพศเมีย 82-95 ชม. และขนาดแรกเกิด 26-28 ชม.
- มีสันนูนใต้ตา ระยะห่างระหว่างตาแคบ เท่ากับ 3.3-4.6 % ของความยาวตลอดตัว ร่องที่มุมปากบนยาวเท่ากับที่มุมป่ากล่าง จุดเริ่มต้นของครีบหลังอันแรกอยู่หลังฐานครีบอก ลำตัวสีน้ำตาลหรือน้ำตาลเทาไม่มีจุดสีขาว ด้านท้องมีสีขาว ปลายครีบหลังอันที่สองและปลายหางมีสีดำ
- เป็นชนิดที่ออกลูกเป็นตัว ครั้งละ 6-10 ตัว ส่วนใหญ่กินปลาขนาดเล็ก ปลาหมึก กุ้งและปูเป็นอาหาร
การกระจายพันธุ์ :
-
ในเขตน่านน้ำไทยพบเฉพาะทางฝั่งทะเลอันดามัน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์
-
เนื้อนำมาบริโภค ครีบใช้ทำหูฉลามตากแห้ง และตับใช้ทำน้ำมันตับปลา
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพข้อมูลไม่เพียงพอ Data Deficient: DD (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (IUCN, 2019)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (ONEP, 2563)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
สถานที่
PMBC-1-PIS-6716
PMBC
Alchohol
ทะเล
PMBC-1-CHON-32950
PMBC
Alchohol
PMBC-1-CHON-32951
PMBC
Alchohol
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
สถานที่
ที่มาของข้อมูล
ปลากระดูกอ่อน (ปลาฉลาม ปลากระเบน และปลาหนู) ที่พบในน่านน้ำไทยและน่านน้ำใกล้เคียง, 2560, กรมประมง
วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา ปีที่ 24 (ฉบับที่ 2) พฤษภาคม - สิงหาคม พ.ศ.2562
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
IUCN Red List
IUCN Red List
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Thysanoteuthis rhombus
Trisuloides sericea
มอดเจาะกิ่งสน
Ips sexdentatus
กดทะเล
Arius arenarius
ตุ๊กแกบ้าน
Gekko gecko
ด้วงหนวดยาวเขียวสองคู่เหลือง
Anubis inermis
Previous
Next