Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Musa gracilis
Musa gracilis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Musa gracilis
Holttum
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย::
-
กล้วยศรีนรา
-
ปิซังกะแต
ชื่อท้องถิ่น::
-
กล้วยม่วง
-
ปิซังกะแต ปิซังเวก ปิซังโอนิก
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Zingiberales
วงศ์::
Musaceae
สกุล:
Musa
วันที่อัพเดท :
19 มิ.ย. 2562 03:05 น.
วันที่สร้าง:
19 มิ.ย. 2562 03:05 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
Solitary erect herb.
-
ไม้ล้มลุก ลำต้นเทียมสูง 1-1.5 เมตร ขนาดผ่านศูนย์กลาง ประมาณ 8 ซม. ใบ เดี่ยว รูปขอบขนาน กว้าง 5-20 ซม. ยาว 60-80 ซม. ดอก ออกเป็นช่อตั้ง รูปกระสวย ยาวประมาณ 15 ซม. ก้านช่อยาว 10-15 ซม. ปลีมีใบประดับสีชมพูถึงม่วงแดงเข้ม เรียงซ้อนกันแน่น ส่วนปลายแหลมมีแต้มสีเขียว ใบประดับด้านนอก จะแผ่ บานออกและหลุดร่วงเมื่อผลเจริญขึ้น ผล รวมเป็นหวี ผลเดี่ยวรูปแท่ง ขอบขนาน มีสันตามยาว กว้าง 1-2 ซม. ยาว 4-5 ซม.
-
ไม้ล้มลุกแตกหน่อ สูง 0.5–2 ม. ลำต้นเทียมเส้นผ่านศูนย์กลาง 8–10 ซม. มีปื้นสีม่วงทั่วไป ใบกว้าง 25–35 ซม. ยาว 90–150 ซม. ก้านใบยาว 30–70 ซม. แผ่นใบด้านล่างมีนวล เส้นกลางใบเป็นร่อง ช่อดอกตั้งตรง ยาวได้ถึง 1 ม. มีขนหนาแน่น ใบประดับรูปขอบขนาน สีม่วงอมชมพู ยาวได้ถึง 15 ซม. ดอกเพศเมียเรียงเป็นกระจุก 3–8 แถว แถวละ 2–4 ดอก กลีบรวมที่เชื่อมติดกันแยกจรดโคนด้านหนึ่ง ปลายจักเป็น 5 แฉก ตื้น ๆ ผลตรง ยาวได้ถึง 10 ซม. เส้นผ่านศูนย์กลาง 2–2.5 ซม. มี 3–4 เหลี่ยม ก้านผลยาว 1–2 ซม. ผลอ่อนมีขนกระจาย เมล็ดกลมหรือรี แบน ๆ (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ กล้วย, สกุล)
-
ไม้ล้มลุก ลำต้นเทียมสูง 1-1.5 เมตร ขนาดผ่านศูนย์กลาง ประมาณ 8 ซม. ใบ เดี่ยว รูปขอบขนาน กว้าง 5-20 ซม. ยาว 60-80 ซม. ดอก ออกเป็นช่อตั้ง รูปกระสวย ยาวประมาณ 15 ซม. ก้านช่อยาว 10-15 ซม. ปลีมีใบประดับสีชมพูถึงม่วงแดงเข้ม เรียงซ้อนกันแน่น ส่วนปลายแหลมมีแต้มสีเขียว ใบประดับด้านนอก จะแผ่ บานออกและหลุดร่วงเมื่อผลเจริญขึ้น ผล รวมเป็นหวี ผลเดี่ยวรูปแท่ง ขอบขนาน มีสันตามยาว กว้าง 1-2 ซม. ยาว 4-5 ซม.
ระบบนิเวศ :
-
Peninsular Malaysia.
การกระจายพันธุ์ :
-
Peninsular Malaysia.
-
พบขึ้นกระจายบริเวณภาคใต้ ของประเทศไทยที่จังหวัดนราธิวาสและมาเลเซีย ออกดอกและ ติดผลช่วงเดือนเมษายน-มิถุนายน
-
พบขึ้นกระจายบริเวณภาคใต้ ของประเทศไทยที่จังหวัดนราธิวาสและมาเลเซีย ออกดอกและ ติดผลช่วงเดือนเมษายน-มิถุนายน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
Narathiwat,Yala
-
ชุมพร
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
ที่มาของข้อมูล
Checklist of Plants in Thailand Volume I ปี 2557 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
กลุ่มงานพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
หมามุ่ยช้าง
Mucuna gigantea
Crotalaria cytisoides
Alternanthera pungens
ขนหมอยแม่ม่าย (สตูล) หญ้าเหล็กไผ่ (สุราษฎร์ธานี) หญ้าอีเหนียว (ชัยนาท) เหนียวหมา (ระนอง)
Centotheca latifolia
Tragus roxburghii
Acrolejeunea aulacophora
Previous
Next