Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Mugilogobius rambaiae
Mugilogobius rambaiae
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Mugilogobius rambaiae
(Smith, 1945)
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Vaimosa rambaiae Smith, 1945
ชื่อสามัญ::
-
Queen of Siam goby
-
Queen Rambhai's goby
-
Queen Rambai's goby
-
Queen of Siam goby, Yellowstripe goby, Two-spot Mangrove Goby
ชื่อไทย:
-
ปลาบู่รำไพ
-
บู่รำไพ
-
ปลาบู่รําไพ
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Actinopterygii
อันดับ:
Perciformes
วงศ์::
Gobiidae
สกุล:
Mugilogobius
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
1 มี.ค. 2567
ที่มา :
กรมประมง
ปรับปรุงล่าสุด :
21 พ.ย. 2566
ที่มา :
สำนักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
23 ก.ค. 2562
วันที่อัพเดท :
9 ก.ย. 2562 00:00 น.
วันที่สร้าง:
9 ก.ย. 2562 00:00 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 3-6 เซนติเมตร ปลาน้ำจืดและน้ำกร่อยขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลาบู่ (Gobiidae) มีลำตัวยาวทรงกระบอก หัวเล็ก ปากกว้างในตัวผู้ เกล็ดค่อนข้างใหญ่ ลำตัวมีสีคล้ำหรือสีน้ำตาล ขอบเกล็ดมีแต้มสีคล้ำหลังช่องเหงือกด้านบนมีดวงรีสีดำและขอบสีจาง ครีบหลังมีลายสีดำและขอบสีจาง ครีบหางมีลายเส้นสีคล้ำ
-
ปลาบู่รำไพ เป็นปลาขนาดเล็ก ยาวเพียง ๓-๔ เซนติเมตร ตามหัวและตัวออกสีเทา มีลายสีเข้ม ๕ แถบที่หลัง พาดลงมาข้างตัว ด้านท้องสีเหลือง ทุกเกล็ดมีจุดสีน้ำตาลครึ่งซีก
-
ปลาบู่รำไพ เป็นปลาขนาดเล็ก ยาวเพียง ๓-๔ เซนติเมตร ตามหัวและตัวออกสีเทา มีลายสีเข้ม ๕ แถบที่หลัง พาดลงมาข้างตัว ด้านท้องสีเหลือง ทุกเกล็ดมีจุดสีน้ำตาลครึ่งซีก
-
ปลาบู่รำไพ เป็นปลาขนาดเล็ก ยาวเพียง ๓-๔ เซนติเมตร ตามหัวและตัวออกสีเทา มีลายสีเข้ม ๕ แถบที่หลัง พาดลงมาข้างตัว ด้านท้องสีเหลือง ทุกเกล็ดมีจุดสีน้ำตาลครึ่งซีก
-
ปลาบู่รำไพ เป็นปลาขนาดเล็ก ยาวเพียง ๓-๔ เซนติเมตร ตามหัวและตัวออกสีเทา มีลายสีเข้ม ๕ แถบที่หลัง พาดลงมาข้างตัว ด้านท้องสีเหลือง ทุกเกล็ดมีจุดสีน้ำตาลครึ่งซีก
-
ปลาชนิดนี้เป็นปลาบู่ขนาดเล็ก ขนาดประมาณ 4 เซนติเมตร
-
ปลาบู่รำไพ เป็นปลาขนาดเล็ก ยาวเพียง ๓-๔ เซนติเมตร ตามหัวและตัวออกสีเทา มีลายสีเข้ม ๕ แถบที่หลัง พาดลงมาข้างตัว ด้านท้องสีเหลือง ทุกเกล็ดมีจุดสีน้ำตาลครึ่งซีก
-
ชื่อวิทยาศาสตร์ตั้งขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ปลาชนิดนี้เป็นปลาบู่ขนาดเล็กอาศัยบริเวณน้ำกร่อยกระจายพันธุ์ตั้งแต่ประเทศศรีลังกา เมียนมาร์ ไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย และปาปัวนิวกินีขนาดประมาณ 4 เซนติเมตร
การกระจายพันธุ์ :
-
พบกระจายพันธุ์อยู่ในอินเดีย, พม่า, ไทย, มาเลเซียจนถึงอินโดนีเซีย ในบริเวณปากแม่น้ำที่เป็นป่าจากหรือเป็นแหล่งน้ำกร่อย ในประเทศไทยพบได้ในพื้นที่ภาคกลางและภาคใต้ทั้งฝั่งตะวันตก ส่วนฝั่งตะวันออกพบเฉพาะจังหวัดสุราษฎร์ธานีและนครศรีธรรมราช
-
Indo-west Pacific
-
ประเทศศรีลังกา เมียนมาร์ ไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย และปาปัวนิวกินี
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
กระบี่,สมุทรปราการ
-
ระนอง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
แต่สำหรับในภาคใต้ ยังพบได้อยู่ และพบมากที่จังหวัดกระบี่ โดยจะพบในพื้นที่ ๆ เป็นแอ่งน้ำในป่าหรือพรุ หรือลำน้ำขนาดเล็กที่มีแร่ธาตุจำพวกคอร์บอเนตสูง จึงมีสีของน้ำออกเป็นสีฟ้า ไม่พบในลำคลอง หรือแม่น้ำสายใหญ่ ปลาจะหลบซ่อนตัวอยู่ตามรากไม้หรือกองใบไม้ที่ทับถมกัน
การเก็บเกี่ยว :
-
นิยมเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม ซึ่งนำมาเลี้ยงได้เป็นอย่างดี ในตู้ไม้น้ำน้ำจืด
ระบบนิเวศ :
-
Fresh Water
-
Estuarine
-
น้ำกร่อย
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2012)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2560)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
สถานที่
ระนอง
alcohol
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
สถานที่
ที่มาของข้อมูล
ONEP Biodiversity Series Vol. 16 : Thailand Red Data : Fishes
กรมประมง
บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)
สัตว์น้ำเกียรติประวัติไทย, กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2566
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
IUCN Red List
หนังสือพรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
กรมประมง
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
นกแว่นตาขาวสีทอง
Zosterops palpebrosus
Monanchora unguiculata
หอยเจดีย์จิ๋วแม่โขง
Hubendickia spiralis
Amblyeleotris triguttatus
Paratymolus pubescens
งูเขียวหางไหม้สุมาตรา
Parias sumatranus
Previous
Next