Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Mucuna warburgii
Mucuna warburgii
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Mucuna warburgii
K.Schum. & Lauterb.
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Mucuna bennettii Polunin
- Mucuna peekelii Harms
ชื่อไทย::
-
พวงโกเมน
ชื่อท้องถิ่น::
-
-
-
Phuang komen
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Fabales
วงศ์::
Fabaceae
สกุล:
Mucuna
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:28 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:28 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้เถา เนื้อแข็ง ใบ เป็นใบประกอบแบบมีใบย่อย 3 ใบ รูปไข่ กว้าง 2.5 ซม. ยาวประมาณ 5 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบมน ดอก สีส้มแดง ออกเป็นช่อใหญ่ห้อยลงตามซอกใบและปลายกิ่งยาวประมาณ 35 ซม. ดอกย่อยรูปดอกถั่ว ขนาด 6-8 ซม. กลีบรองดอก เป็นรูปถ้วย กลีบดอก 5 กลีบ ไม่สมมาตร กลีบบนแผ่ตั้ง กลีบข้าง รูปขอบขนาน กลีบคู่ล่างเชื่อมกันเป็นรูปท้องเรือ ปลายกลีบ งอนแหลมโค้งขึ้น เกสรผู้ 10 อัน ก้านเกสรเชื่อมกัน 9 อัน อีก 1 อันเป็นอิสระ ผล เป็นฝัก ยาวประมาณ 15 ซม. ผลแก่แล้วแตก เมล็ดประมาณ 12 เมล็ด
-
ไม้เถา เนื้อแข็ง ใบ เป็นใบประกอบแบบมีใบย่อย 3 ใบ รูปไข่ กว้าง 2.5 ซม. ยาวประมาณ 5 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบมน ดอก สีส้มแดง ออกเป็นช่อใหญ่ห้อยลงตามซอกใบและปลายกิ่งยาวประมาณ 35 ซม. ดอกย่อยรูปดอกถั่ว ขนาด 6-8 ซม. กลีบรองดอก เป็นรูปถ้วย กลีบดอก 5 กลีบ ไม่สมมาตร กลีบบนแผ่ตั้ง กลีบข้าง รูปขอบขนาน กลีบคู่ล่างเชื่อมกันเป็นรูปท้องเรือ ปลายกลีบ งอนแหลมโค้งขึ้น เกสรผู้ 10 อัน ก้านเกสรเชื่อมกัน 9 อัน อีก 1 อันเป็นอิสระ ผล เป็นฝัก ยาวประมาณ 15 ซม. ผลแก่แล้วแตก เมล็ดประมาณ 12 เมล็ด
การกระจายพันธุ์ :
-
มีถิ่นกำเนิดบริเวณเกาะ ปาปัวนิวกีนี นำมาปลูกที่สวนพฤกษศาสตร์ จังหวัดเชียงใหม่ เจริญเติบโตได้ดี ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน
-
มีถิ่นกำเนิดบริเวณเกาะ ปาปัวนิวกีนี นำมาปลูกที่สวนพฤกษศาสตร์ จังหวัดเชียงใหม่ เจริญเติบโตได้ดี ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน
ที่มาของข้อมูล
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Rhamnus napalensis
Mentha villosa
Tradescantia spathacea
Pseuduvaria multiovulata
Pilea cadierei
Polyalthia clavigera
Previous
Next