Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Motacilla alba
Motacilla alba
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Motacilla alba
Linnaeus, 1758
Status:
ACCEPTED
ชื่อสามัญ::
-
White Wagtail
-
Amur Wagtail
ชื่อไทย::
-
นกอุ้มบาตร
ชื่อท้องถิ่น::
-
นกอุ้มบาตร
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Aves
อันดับ:
Passeriformes
วงศ์::
Motacillidae
สกุล:
Motacilla
ที่มา :
บริษัท บี.กริม เพาเวอร์ จำกัด (มหาชน)
ปรับปรุงล่าสุด :
4 มิ.ย. 2567
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
11 ก.ค. 2566
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
4 ก.ค. 2566
ที่มา :
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
ปรับปรุงล่าสุด :
3 ก.ค. 2566
วันที่อัพเดท :
19 ธ.ค. 2561 15:59 น.
วันที่สร้าง:
19 ธ.ค. 2561 15:59 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
นก
-
นกขนาดเล็ก (19 ซม.) ตัวเต็มวัยมีสีดำและสีขาว มีลายพาดขนาดใหญ่สีขาวที่ขนคลุมขนปีก หน้าผาก และด้านข้างของหัวสีขาว อาจจะมีหรือไม่มีแถบคาดตาสีดำ ด้านบนลำตัวจะมีตั้งแต่สีดำทั้งหมด สีเทาผสมดำ จนกระทั่งสีเทาทั้งหมด ด้านล่างลำตัวสีขาว มีสีดำเป็นรูปพระจันทร์ครึ่งซีกเฉพาะที่อก จนกระทั่งขยายเต็มไปทั้งคอหอยและอก
-
ขนลำตัวสีขาวสลับดำเด่นชัด ที่พบในพื้นที่คือชนิดย่อย eucopsis ลำตัวด้านล่างขาว กระหม่อม ท้ายทอย ลำตัวด้าน
บนและแถบอกสีดำ ขนคลุมปีกด้านบนและขอบขนโคนปีกสีขาว ขอบหางสีขาว ฤดูผสมพันธุ์แถบสีดำที่อกใหญ่ขึ้น ขอบต่อเนื่องกับสีดำข้างอก นกเพศเมียคล้ายตัวผู้ แต่ลำตัวด้านบนมีสีเทา
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ขนลำตัวขาวสลับดำเด่นชัด หลังสีดำหรือเทา
ระบบนิเวศ :
-
พื้นที่เปิดโล่งต่าง ๆ โดยเฉพาะพื้นที่ชุ่มน้ำ ที่ราบถึงความสูง 2,000 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
-
พบตามทุ่งโล่ง ทุ่งหญ้า ทุ่งนา และบริเวณที่ใกล้ๆ กับแหล่งน้ำต่างๆ ส่วนใหญ่หากินตามพื้นดิน ด้วยการวิ่งไล่จิกแมลงต่างๆ ซึ่งเป็นอาหารส่วนใหญ่ บางครั้งก็บินขึ้นจิกแมลงกลางอากาศใกล้ๆ กับพื้นดิน ขณะที่เกาะตามปรกติ ทางจะกระดกขึ้นลงเป็นจังหวะ
-
พื้นที่เปิดโล่งต่างๆ โดยเฉพาะพื้นที่ชุ่มน้ำ
-
ระบบนิเวศป่าไม้, ป่าดิบเขา
-
ระบบนิเวศเกาะ
-
ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
-
ระบบนิเวศป่าไม้
-
ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
-
ระบบนิเวศเกษตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
-
อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อุบลราชธานี, อุทยานแห่งชาติมุกดาหาร (ภูผาเติบ)
-
อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
-
เชียงใหม่
-
พังงา
-
มุกดาหาร
-
พะเยา
-
อุตรดิตถ์,แพร่,น่าน,พะเยา
-
น่าน
-
สมุทรปราการ
-
กรุงเทพมหานคร
-
ลำพูน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
-
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์
-
ภูผาเทิบ
-
บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
-
ลุ่มน้ำอิง,ลุ่มน้ำยม,ลุ่มน้ำน่าน
-
พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
-
ป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร ลำพูน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
ช่วยในการกระจายพันธุ์
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2560)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2560)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA963682
963682
2
PRJNA690099
690099
3
PRJNA684358
684358
4
PRJNA665039
665039
5
PRJNA662706
662706
6
PRJNA662705
662705
7
PRJNA545868
545868
8
PRJNA420728
420728
9
PRJNA412922
412922
10
PRJNA373856
373856
11
PRJNA356768
356768
12
PRJNA311860
311860
13
PRJNA304409
304409
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 18 Birds of Dry and Semi-Humid Ecosystem, 2550
OEPP Biodiversity Series Vol. 7 Birds of Bung Boraphet, 2543
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
กรมป่าไม้
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
บริษัท บี.กริม เพาเวอร์ จำกัด (มหาชน)
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศเกษตร (Agricultural Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน (Inland Water Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 6 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกาะ, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
IUCN Red List
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Portunus pelagicus
ค้างคาวขอบหูขาวกลาง
Cynopterus sphinx
กระรอกสีเทา
Sciurus carolinensis
Potamon boonyaratae
นกอีแพรดคิ้วขาว
Rhipidura aureola
ผีเสื้อหนอนกระทู้
Sarbanissa venosa
Previous
Next