Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Mitrephora maingayi
Mitrephora maingayi
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Mitrephora maingayi
Hook.f. & Thomson
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย::
-
ปอขี้แฮด
-
นางแดง
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Magnoliales
วงศ์::
Annonaceae
สกุล:
Mitrephora
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:24 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:24 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นสูง 10-18 ม. กิ่งอ่อนมีขนนุ่มสีน้ำตาลแดง ใบเป็นใบเดี่ยว หนาคล้ายแผ่นหนัง รูปรีแกมขอบขนาน โคนใบมน ปลายใบแหลม กว้าง 4-6 ซม. ยาว 10-15 ซม. ดอกสีเหลืองหม่นมีแถบยาวสีม่วงแดง มีกลิ่นหอม ออกเป็นช่อตรงข้ามกับใบ มี 3-5 ดอก ดอกย่อยมีกลีบ 2 แบบ วงนอก 3 กลีบ แผ่เป็นรูปขอบขนาน มักบิดงอ กว้าง 0.7-1.2 ซม. ยาว 2-4 ซม. ปลายแหลม วงในสาม กลีบม้วนห่อชิดกัน ภายในมีเกสรผู้จำนวนมาก ผลออกเป็นช่อ ก้านอยู่รวมกันเป็นกระจุก ยาว 3-4 ซม. รูปกลมรี ขนาดกว้าง 2 ซม. ยาว 3 ซม. เมื่อสุกสีส้ม เมื่อแก่เป็นสีดำ เมล็ดแบน มี 4-5 เมล็ด เรียงเป็นสองแถวภายในผล
-
ไม้ต้นสูง 10-18 ม. กิ่งอ่อนมีขนนุ่มสีน้ำตาลแดง ใบเป็นใบเดี่ยว หนาคล้ายแผ่นหนัง รูปรีแกมขอบขนาน โคนใบมน ปลายใบแหลม กว้าง 4-6 ซม. ยาว 10-15 ซม. ดอกสีเหลืองหม่นมีแถบยาวสีม่วงแดง มีกลิ่นหอม ออกเป็นช่อตรงข้ามกับใบ มี 3-5 ดอก ดอกย่อยมีกลีบ 2 แบบ วงนอก 3 กลีบ แผ่เป็นรูปขอบขนาน มักบิดงอ กว้าง 0.7-1.2 ซม. ยาว 2-4 ซม. ปลายแหลม วงในสาม กลีบม้วนห่อชิดกัน ภายในมีเกสรผู้จำนวนมาก ผลออกเป็นช่อ ก้านอยู่รวมกันเป็นกระจุก ยาว 3-4 ซม. รูปกลมรี ขนาดกว้าง 2 ซม. ยาว 3 ซม. เมื่อสุกสีส้ม เมื่อแก่เป็นสีดำ เมล็ดแบน มี 4-5 เมล็ด เรียงเป็นสองแถวภายในผล
การกระจายพันธุ์ :
-
จากอินเดีย ถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตามริมห้วยบริเวณป่าดิบ ที่ระดับความสูง 600-800 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนกุมภาพันธ์-กรกฎาคม
-
จากอินเดีย ถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตามริมห้วยบริเวณป่าดิบ ที่ระดับความสูง 600-800 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนกุมภาพันธ์-กรกฎาคม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
สุราษฎร์ธานี
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองแสง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
ผลรับประทานได้ มีรสหวาน และเป็นอาหารของสัตว์ป่า
ที่มาของข้อมูล
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Ctenopteris subfalcata
Homaliodendron sphaerocarpum
Glochidion kerrii
Huperzia reflexa
Garcinia hombroniana
Canthium cochinchinense
Previous
Next