Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Microstegium ciliatum
Microstegium ciliatum
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Microstegium ciliatum
(Trin.) A.Camus
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย:
-
หญ้าข่มคา
ชื่อท้องถิ่น::
-
หญ้าดอกพู่เลื้อย
-
หญ้าข่มคา หญ้าหลาด (ภาคใต้)
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Poales
วงศ์::
Poaceae
สกุล:
Microstegium
วันที่อัพเดท :
19 มิ.ย. 2562 03:33 น.
วันที่สร้าง:
19 มิ.ย. 2562 03:33 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
Perennial rambling herb.
-
ส่วนปลายยอดจะตั้งหรือพาดเลื้อยสูง 60-190 เซนติเมตร ใบกว้าง 1.0-1.5 เซนติเมตร ยาว 7-9 เซนติเมตร กาบใบยาว 4-5 เซนติเมตร ลิ้นใบ(ligule) เป็นแผ่นสีน้ำตาลปลายเรียบ สูงประมาณ 0.5 มิลลิเมตร มีขนยาว 1.0-1.5 มิลลิเมตร
ระบบนิเวศ :
-
Edge of evergreen forest, 50-1,000 m alt.
การกระจายพันธุ์ :
-
India, Sri Lanka, Nepal, Bhutan, China, Myanmar, Indochina, Malesia.
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ChiangMai,NakhonRatchasima,Kanchanburi,Phatthalung,Phangnga,Trang
-
นครศรีธรรมราช, เชียงใหม่
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เป็นพืชอายุหลายปี มีลักษณะเป็นเถาแผ่เลื้อย แตกรากตามข้อที่เลื้อย ส่วนปลายยอดจะตั้งหรือพาดเลื้อย ใบนุ่ม ลักษณะคล้ายใบไผ่ คือเรียวไปที่ปลายใบและโคนใบ กาบใบมีสีเขียว และเขียวปนน้ำตาลแดง มีติ่งใบ (auricle) ลิ้นใบ(ligule) เป็นแผ่นสีน้ำตาลปลายเรียบ มีขนยาว 1.0-1.5 มิลลิเมตร ที่ด้านข้างขอบกาบใบ ตัวกาบใบไม่มีขน หน้าใบและหลังใบมีขนสั้นละเอียดจำนวนมาก ขอบใบมีขนครุย (ciliate) ลำต้นส่วนโคนมักมีสีม่วงแดง ส่วนต้นอ่อนจะมีสีเขียว ขอบใบด้านหนึ่งมักมีสีน้ำตาลแดง ออกดอกตั้งแต่เดือนกันยายน จนถึงช่วงฤดูฝน
ถิ่นกำเนิด :
-
ไทย
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พบที่ความสูงเหนือระดับน้ำทะเล 600-742 เมตร บริเวณ อำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย, อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
THNHM-P-2002-0071
NSM
Surat thani
THNHM-P-2002-0072
NSM
Surat thani
THNHM-P-2002-1467
NSM
Chiang Rai
THNHM-P-2002-1468
NSM
Chiang Rai
THNHM-P-2002-1469
NSM
Chiang Rai
THNHM-P-2003-0006
NSM
Kanchanaburi
THNHM-P-2003-0007
NSM
Kanchanaburi
THNHM-P-2003-0008
NSM
Kanchanaburi
THNHM-P-2003-0009
NSM
Kanchanaburi
THNHM-P-2003-0010
NSM
Kanchanaburi
THNHM-P-2003-0011
NSM
Kanchanaburi
THNHM-P-2003-0012
NSM
Kanchanaburi
THNHM-P-2003-0211
NSM
Chumphon
THNHM-P-2003-0212
NSM
Chumphon
THNHM-P-2003-0213
NSM
Chumphon
THNHM-P-2002-0071
NSM
Surat thani
THNHM-P-2002-0072
NSM
Surat thani
THNHM-P-2002-1467
NSM
Chiang Rai
THNHM-P-2002-1468
NSM
Chiang Rai
THNHM-P-2002-1469
NSM
Chiang Rai
THNHM-P-2003-0006
NSM
Kanchanaburi
THNHM-P-2003-0007
NSM
Kanchanaburi
THNHM-P-2003-0008
NSM
Kanchanaburi
THNHM-P-2003-0009
NSM
Kanchanaburi
THNHM-P-2003-0010
NSM
Kanchanaburi
THNHM-P-2003-0011
NSM
Kanchanaburi
THNHM-P-2003-0012
NSM
Kanchanaburi
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ที่มาของข้อมูล
Checklist of Plants in Thailand Volume I ปี 2557 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
พืชอาหารสัตว์พื้นเมือง เล่ม 1
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Zygostelma benthamii
Hegnera obcordata
โกฐน้ำเต้า
Rheum palmatum
Graphis dumastii
Desmodium hayatae
สิงโตหลอดไฟ
Bulbophyllum odoratissinum
Previous
Next